จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม

จารึก

จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 27 มิ.ย. 2564 00:04:59

ชื่อจารึก

จารึกวัดพระธาตุเชิงชุม

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

Piédroit de Săk’on Lăk’on (K. 369), สน. 2, K.369

อักษรที่มีในจารึก

ขอมโบราณ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 17

ภาษา

เขมร

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 12 บรรทัด

ผู้อ่าน

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้แปล

อำไพ คำโท (พ.ศ. 2529)

ผู้ตรวจ

กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร (พ.ศ. 2529)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “มูล”
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “ภูมฺยา” และเมื่อพิจารณารูปอักษรในจารึกแล้ว พบว่ามีเส้นโค้งลากต่อจากปลายเส้นของเชิง “ย” คือเป็นรูปของสระอาจมชัดเจน
3. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “โอยฺ” แต่เมื่อพิจารณารูปอักษรในจารึกแล้วเห็นว่าน่าจะอ่านเป็น “คุ” มากกว่า เพราะไม่พบรูปพยัญชนะ “ย” ที่เป็นตัวสะกด
4. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : คำอ่านของจารึกหลักนี้ ที่เผยแพร่ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 ตัวพยัญชนะ “ป” บางตัว ถูกอ่าน เป็น “บ” ทั้งที่เมื่อพิจารณารูปอักษรแล้ว อักษรที่ถูกอ่านเป็น “ป” และ “บ” ไม่มีความแตกต่างแต่ประการใด ดังนั้นเพื่อไม่ให้สับสน คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) จึงแก้ไขคำอ่าน จากที่อ่านเป็น “บ” ให้อ่านเป็น “ป” ทั้งหมด
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “ทนฺยิมฺ” แต่เมื่อพิจารณารูปอักษรในจารึกแล้วเห็นว่าน่าจะอ่านเป็น “ทนฺยีมฺ” มากกว่า เพราะพบขีดเล็กๆ อยู่ในวงกลม (สระอิจม) ด้วย
6. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “โอยฺ สงฺกฺรานฺต”
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “ทงฺ”
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2547) : ใน Inscriptions du Cambodge อ่านเป็น “อฺยตฺ”