จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดจันทึก

จารึก

จารึกวัดจันทึก ข้อความทั้ง 4 ตอน

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. 2564 13:40:09

ชื่อจารึก

จารึกวัดจันทึก

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นม. 14, K.1009, เลขทะเบียนโบราณวัตถุที่ 26/17/2508, 26/5/2508, 26/4/2508

อักษรที่มีในจารึก

ปัลลวะ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 12

ภาษา

สันสกฤต

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 1 บรรทัด

ผู้อ่าน

1) ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2529)
2) กรรณิการ์ วิมลเกษม (พ.ศ. 2542)

ผู้แปล

1) ชะเอม แก้วคล้าย (พ.ศ. 2529)
2) จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา (พ.ศ. 2542)

เชิงอรรถอธิบาย

1. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา : “สุตาํ” คำนี้ ในจารึกเครื่องหมายนิคหิตไม่ชัดเจน
2. ตรงใจ หุตางกูร : “ทฺวารวตีปเตะ” มาจาก “ทวารวดี + บดี” หมายถึง บดี (ผู้เป็นใหญ่) แห่งทวารวดี หรือ เจ้าแห่งทวารวดี น่าสังเกตว่า จารึกบนเหรียญเงินที่มีชื่อของทวารวดีอยู่จะใช้ว่า “ศฺรีทฺวารวตีศฺวร” คือ “ศรี + ทวารวดี + ศวร” (ผู้เป็นใหญ่) ซึ่งเมื่อแปลแล้วก็หมายถึง “ผู้เป็นใหญ่แห่งทวารวดี” เช่นกัน
3. จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา : “ตาถาคตี” เป็นคำตัทธิต มาจาก “ตถาคต + อ” ปัจจัย เพื่อทำให้เป็นคุณศัพท์แล้วประกอบด้วย “อี” ปัจจัยอีกต่อหนึ่ง เพื่อทำให้เป็นเพศหญิง เพราะต้องไปขยายคำว่า “มูรฺติ” ซึ่งเป็นคำนามเพศหญิง