จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน

จารึก

จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:27

ชื่อจารึก

จารึกฐานสถูปดินเผาวัดหนองกระโดน

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นว. 16

อักษรที่มีในจารึก

หลังปัลลวะ

ศักราช

พุทธศตวรรษ 14

ภาษา

บาลี, มอญโบราณ

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 1 ด้าน มี 2 บรรทัด (รอบฐานสถูปจำลอง)

ผู้อ่าน

กรรณิการ์ วิมลเกษม และพงศ์เกษม สนธิไทย (พ.ศ. 2542)

ผู้แปล

(ภาษาบาลี) แสง มนวิทูร (พ.ศ. 2529) (ภาษามอญ) กรรณิการ์ วิมลเกษม และพงศ์เกษม สนธิไทย (พ.ศ. 2542)

เชิงอรรถอธิบาย

1. กรรณิการ์ วิมลเกษม และพงศ์เกษม สนธิไทย : คำอธิบายศัพท์ภาษามอญ - “เนอฺ” แปลว่า นี้ - “กฺยากฺ” แปลว่า พระ, พระพุทธรูป - ปุญ แปลว่า บุญ, กุศล - “ตร” และ “ตฺรอฺ” แปลว่า ท่าน (ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร. อุไรศรี วรศะริน ได้ให้คำอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของ 2 คำนี้ว่า “ตร” (tara) เป็นรูปแปรของศัพท์มอญโบราณ trala' trila ta('r)la trila tirla' tarla tarla' trila trala หมายถึง ผู้เป็นเจ้า, ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นเจ้าของ, ท่าน ส่วน “ตฺรอฺ” (tra') เป็นรูปแปรของศัพท์มอญโบราณ tra หรือ ta (‘rla) คำนำหน้าชื่อ หรือคำขยาย มีความหมายไปในทางศักดิ์สิทธิ์ หมายถึง ท่าน - “ชฺรปฺ” แปลว่า ศาลา - “วิหาร” แปลว่า วิหาร, วัด