จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกวัดหอพระแก้ว

จารึก

จารึกวัดหอพระแก้ว ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:18:26

ชื่อจารึก

จารึกวัดหอพระแก้ว

ชื่อจารึกแบบอื่นๆ

นค. 13

อักษรที่มีในจารึก

ไทยน้อย

ศักราช

พุทธศักราช 2355

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 70 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 34 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 36 บรรทัด

ผู้อ่าน

ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2530)

ผู้ปริวรรต

ธวัช ปุณโณทก (พ.ศ. 2530)

เชิงอรรถอธิบาย

1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : เลข “1”, “2”, “3” และ “6” คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ อ่านเพิ่ม
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “หรคุน” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “หรคุนะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
3. ธวัช ปุณโณทก : จุลศักราช 172 = จ.ศ. 1172 แต่ท่านละเลขหน้าไว้ ตรงกับ พ.ศ. 2353
4. ธวัช ปุณโณทก : ปีสะง้า = ชื่อปีตามปฏิทินหนไทย ตรงกับปีมะเมีย ภาคกลาง
5. ธวัช ปุณโณทก : ยามตุดมื้อเช้า = ชื่อยามทางภาคอีสานโบราณ ยามตุดตั้งก็ว่า ยามตุดมื้อเช้า คือช่วงเวลา 06.00-07.00 น.
6. ธวัช ปุณโณทก : หรคุณ = จำนวนวัน เริ่มตั้งแต่วันตั้งจุลศักราชจนถึงวันที่ทำพิธี
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “บรมมะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “บํรมฺมัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
8. ธวัช ปุณโณทก : ลายจุ้ม = พระบรมราชโองการ
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “วิสูทฺธะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “วิสูทฺธัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
10. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “บัรมยะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “บํรมฺยัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “บํรมยะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “บํรมฺยัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
12. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ประถา” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “ประถำ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
13. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
14. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “สาสนา” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “สาสฺสนา” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
15. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “บรมยะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “บรมฺยัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
16. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ปี” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “ปฺลี” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
17. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “ฤ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “ฤั” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
18. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “พุทธะ” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “พูทฺธัะ” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
19. ธวัช ปุณโณทก : ยอ = ยก, ตั้งขึ้น
20. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “อง” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “อัง” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
21. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “เลา” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “เลัา” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
22. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “กฺลม” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “กฺลัม” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
23. ธวัช ปุณโณทก : โชตนา = รุ่งเรือง, ทำให้เจริญ
24. ธวัช ปุณโณทก : คำปิว = ทองคำเปลว
25. ธวัช ปุณโณทก : ปลาย = เหลือเศษ, เกิน
26. ธวัช ปุณโณทก : ขี้ซี่ = เป็นภาษาถิ่นอีสาน หมายถึง ชัน
27. ธวัช ปุณโณทก : ชายแรง = ชายฉกรรจ์
28. ธวัช ปุณโณทก : หญิงแรง = หญิงฉกรรจ์
29. ธวัช ปุณโณทก : หญิงเฒ่า = ผู้หญิงที่มีอายุมาก
30. ธวัช ปุณโณทก : กระมวล = ประมวล, รวบรวม
31. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ธวัช ปุณโณทก อ่านเป็น “เขต” แต่คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นเป็น “เขัต” ชัดเจน จึงได้แก้ไขคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก
32. ธวัช ปุณโณทก : แทก = การวัดระยะ
33. ธวัช ปุณโณทก : ก้ำ = ทิศ, ทาง
34. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ พิจารณาจากภาพสำเนาจารึกแล้วเห็นคำว่า “วาง” อยู่หน้า “ไว” ชัดเจน จึงได้เพิ่มเติมคำอ่านดังกล่าวให้สอดคล้องกับอักษรที่จารึก