เชิงอรรถอธิบาย |
1. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “จุละ”
2. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ตัว”
3. ธวัช ปุณโณทก : จุลสังกราช = จุลศักราช
4. ธวัช ปุณโณทก : 932 = จุลศักราช 932 ตรงกับ พ.ศ. 2113
5. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านและปริวรรตเป็น “วัน 4” หมายถึง วันพุธ
6. ธวัช ปุณโณทก : ออก = ข้างขึ้น (เดือนออก)
7. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : วัน 5 = วันพฤหัสบดี
8. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สัทธา”
9. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไน”
10. ธวัช ปุณโณทก : พระยาปากเจ้า = เจ้าเมืองปากห้วยหลวง
11. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไห”
12. ธวัช ปุณโณทก : ล่วงรี = ทางยาว (ล่วง = ทาง, ไปทาง ; รี = ยาว)
13. ธวัช ปุณโณทก : น้ำของ = แม่น้ำของ 14. ธวัช ปุณโณทก : ซาว = ยี่สิบ
15. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “วางอก” และปริวรรตเป็น “หว่างอก”
16. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เมิอ”
17. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สี”
18. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไห”
19. ธวัช ปุณโณทก : ปลาย = กว่า, เหลือเศษ
20. ธวัช ปุณโณทก : เมือนา = วัดไปทางด้านทุ่งนา
21. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ทรง”
22. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “จัตุปาริสทธิ”
23. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “บ่”
24. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : มหาปาเจ้า, มหาป่าเจ้า = เป็นคำใช้เรียกพระเถระผู้ใหญ่ทางฝ่ายอรัญวาสี (วัดป่า)
25. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ตน = รูป (ลักษณนามของพระสงฆ์), องค์, พระองค์
26. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไห”
27. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : ต่อเท่า, ต่อเท้า = จนถึง, ตราบเท่า, ตราบถึง, ตราบกระทั่ง
28. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : วสา, วัสสา = ปี
29. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “นกยูง”
30. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านและปริวรรตเป็น “วัว”
31. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านและปริวรรตเป็น “กาง”
32. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สทธา”
33. ธวัช ปุณโณทก : จัว = เณร ภาษาอีสานใช้เรียกผู้ที่บรรพชาเป็นเณรว่า “จัว”, สมเด็จมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโส) ว่าน่าจะมาจากคำว่า “เจ้า” หรือ “เจ้าหัว” ฉะนั้น จัวหมื่น คือ เจ้าหมื่น หรือ เจ้าหัวหมื่น
34. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไห”
35. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “หยง” และปริวรรตเป็น “เหียง”
36. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เหมี”
37. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “บาด”
38. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ทีแท” และปริวรรตเป็น “ที่แท้”
39. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เขด”
40. ธวัช ปุณโณทก : บัก = น่าจะเป็น “บาท” ฉะนั้นน่าจะมีความหมายว่า “ค่า 2 บาท”
41. ธวัช ปุณโณทก : แทก = วัดระยะ
42. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ยูง”
43. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านและปริวรรตเป็น “วัว”
44. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “สทธา”
45. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ไห”
46. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เมิอง”
47. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “หมืน”
48. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “หมืน”
49. ธวัช ปุณโณทก : แสนเจ้าเถ้าเมือง = เป็นสำนวน หมายความว่า “ผู้เป็นใหญ่ในบ้านเมืองทั้งหลาย” หรือ “อมาตย์ราชมนตรีทั้งหลาย
50. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก ปริวรรตเป็น “กาง”
51. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “เย้ย” และปริวรรตเป็น “เยีย”
52. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “หมืน”
53. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ยยก”
54. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านเป็น “ให”
55. คณะทำงานฐานข้อมูลจารึกฯ (2549) : บุญนาค สะแกนอก อ่านและปริวรรตเป็น “สากสิ”
|