จารึก

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 13 (ภาพแขกปะถ่าน)

จารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 13 (ภาพแขกปะถ่าน) ด้านที่ 1

QR-code edit Share on Facebook

เวลาที่โพส โพสต์เมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2563 13:17:48

ชื่อจารึก

จารึกโคลงภาพคนต่างภาษา แผ่นที่ 13 (ภาพแขกปะถ่าน)

อักษรที่มีในจารึก

ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์

ศักราช

ไม่ปรากฏศักราช

ภาษา

ไทย

ด้าน/บรรทัด

จำนวน 1 ด้าน (ไม่ทราบจำนวนบรรทัด)

ผู้อ่าน

ไม่ปรากฏข้อมูลผู้อ่าน

เชิงอรรถอธิบาย

1. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “แขกปะถ่าน” กาญจนาคพันธุ์ อธิบายไว้ในหนังสือ ภูมิศาสตร์วัดโพธิ์ เล่ม 2 ว่า ปัจจุบันเรียก “แขกปาทาน” ซึ่งหมายถึงชาวอัฟกานิสถานที่อาศัยอยู่ในประเทศอินเดีย
2. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “อระอย่า” กาญจนาคพันธุ์ สันนิษฐานว่าเป็นชื่อผ้าแพรชนิดหนึ่ง มีแหล่งผลิตอยู่ในตุรกี เรียกว่า “อละยาห์” ส่วนในอินเดีย เรียกว่า “อัลเลยาห์”
3. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “หลี่” กาญจนาคพันธุ์ สันนิษฐานว่าน่าจะหมายถึงดินแดนที่จีนเรียกว่า “อีหลี” ซึ่งก็คือตุรกีสถาน มีอาณาเขตตั้งแต่ทางตอนเหนือของอัฟกานิสถานมาทางตะวันออกซึ่งเป็นทะเลทรายจนจรดประเทศจีน
4. พันธุ์ทิพย์ ธีระเนตร : “นบสาส์นเซ็น” หมายถึง นับถือศาสนาอิสลาม นิกายชีอะห์ อย่างไรก็ตาม กาญจนาคพันธุ์ ระบุว่า ในความเป็นจริงแล้ว แขกปาทานส่วนใหญ่นับถือนิกายสุหนี่