ลาวโซ่ง

ขอบเขตและเนื้อหา :

เอกสารจากการทำงานวิจัยภาคสนามทางมานุษยวิทยาของ รศ.ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ จำนวนทั้งหมด 216 ระเบียน ประกอบด้วย ภาพถ่าย 211 ระเบียน และ แถบบันทึกภาพ 5 ระเบียน เอกสารชุดนี้มาจากการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ลาวโซ่ง ที่ ต.หนองปรง อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี ในระหว่างปี พ.ศ.2532-2542 โดยประเด็นที่ศึกษาคือ ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน เศรษฐกิจ ทรัพยากรและอาหาร ความเชื่อดั้งเดิมและพิธีกรรม การฟื้นฟูประเพณี และการแต่งกาย

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ : ภาพถ่าย 211 ระเบียน, แถบบันทึกภาพ 5 ระเบียน

แหล่งที่มาของเอกสาร : บริจาคโดย ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ , พ.ศ. 2553

การจัดเรียงเอกสาร : กลุ่มเอกสารจำแนกตามกลุ่มชาติพันธุ์

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล : ไม่มีข้อจำกัดในการใช้

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

41. รหัส : CP-1-1-41               

ลักษณะทางกายภาพของชุมชนหนองปรง ต.หนองปรง อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี   

| นักศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ออกภาคสนาม (ประมาณปีพ.ศ.2538) กับพี่สาวของกำนันที่เอื้อที่อาศัยระหว่างฝึกวิจัยภาคสนาม | สไลด์

44. รหัส : CP-1-2-1                 

เศรษฐกิจ ทรัพยากร อาหาร

| พ.ศ. 2532 | ภาพผู้หญิงในทุ่งนา | สไลด์

46. รหัส : CP-1-2-3                 

เศรษฐกิจ ทรัพยากร อาหาร

| พ.ศ. 2532 | ภาพทุ่งนาฝั่งภูเขา | สไลด์

47. รหัส : CP-1-2-4                 

เศรษฐกิจ ทรัพยากร อาหาร

| พ.ศ. 2532 | ที่ปาดหัวคันนา | สไลด์

49. รหัส : CP-1-2-6                 

เศรษฐกิจ ทรัพยากร อาหาร

| พ.ศ. 2532 | ไม้ไผ่สำหรับสานหลัว | สไลด์