พ.ศ.2510-2512

ขอบเขตและเนื้อหา :

ปี พ.ศ. 2510-2512 เอกสารชุดนี้มาจากการเข้ามาทำงานภาคสนามครั้งที่ 3 ของมอร์แมนเพื่อศึกษากระบวนการยุติธรรมและศาลในเขตจังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง และลำพูน เอกสาร 185 ระเบียน ประกอบด้วย บัตรบันทึก สมุดบันทึก / กระดาษบันทึก จดหมาย และเอกสารพิมพ์

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ : เอกสารจำนวน 185 ระเบียน ประกอบไปด้วย บัตรบันทึกแบบเจาะ จดหมาย สมุดและกระดาษบันทึก เอกสารพิมพ์

แหล่งที่มาของเอกสาร : บริจาคโดย ไมเคิล มอร์แมน, ปี พ.ศ. 2548

การจัดเรียงเอกสาร : เอกสารจำแนกตามปีที่เข้ามาศึกษา

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล : เอกสารบางส่วนจำกัดการเข้าใช้ ผู้ที่สนใจเอกสารชุดดังกล่าว สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่โครงการจดหมายเหตุฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution (CC BY)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution (TK A)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

141. รหัส : MM-1-41-1/2

ข้อสันนิษฐานทางวิทยาศาสตร์ชาติพันธุ์

| ข้อสันนิษฐานทางวิทยาศาสตร์ชาติพันธุ์ คืออาจจะมีลักษณะหรือสัญลักษณ์บางอย่างถูกนำมาใช้เมื่อมีสิ่งกระตุ้น วิทยาศาสตร์ชาติพันธุ์แสดงให้เห็นขอบเขตที่พวกเขาใช้ในการค้นหา สี ชื่อ คำเรียกญาติ และเป็นเครื่องหมายว่าวัฒนธรรมของพวกเขาเชื่อมโยงอย่างเป็นนามธรรมกับสิ่งกระตุ้นเหล่านั้น | เอกสาร บทความ

142. รหัส : MM-1-41-1/3

รูปแบบทางวัฒนธรรม

| อาจพูดได้ว่าบรรทัดฐานเป็นสาเหตุของพฤติกรรมต่างๆ ประการแรกรูปแบบทางวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดธรรมเนียมปฏิบัติ และสองพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้สึกส่วนตัว | เอกสาร บทความ

143. รหัส : MM-1-41-1/5

หมู่บ้านไทลื้อ

| บทความของไมเคิล มอร์แมน (ฉบับแปลเป็นภาษาไทย) เกี่ยวกับวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของชาวไทลื้อที่ อ.เชียงคำ จ.พะเยา รวมถึงการศึกษาวัฒนธรรมของคนไทยในท้องถิ่นอื่นๆ | เอกสาร บทความ

144. รหัส : MM-1-41-2/1

การใช้ภาษาในกระบวนการตัดสินคดีความ

| การใช้ภาษาในกระบวนการตัดสินคดีความ | เอกสาร บทความ

145. รหัส : MM-1-41-2/2

การใช้ภาษา

| การใช้ภาษาในกระบวนการตัดสินคดีความ ภาษาในกฎหมาย | เอกสาร บทความ

146. รหัส : MM-1-41-3/1

การใช้ภาษา

| มอร์แมนได้บันทึกบทสนทนา จากนั้นนำมาวิเคราะห์ลักษณะของนำเสียง การใช้คำ เพื่อสะท้อนอารมณ์ความรู้สึก | เอกสาร บทความ

147. รหัส : MM-1-41-3/2

ภาษา

| วิเคราะห์ลักษณะของนำเสียง การใช้คำ เพื่อสะท้อนอารมณ์ความรู้สึก รวมถึงการรับรู้ทางสังคม | เอกสาร บทความ

148. รหัส : MM-1-41-4/1

การใช้ภาษาในศาล

| บทสนทนาในศาลที่แสดงให้เห็นถึงการตั้งคำถามและการตอบคำถาม ปฏิกริยาที่เกิดขึ้นในการพิจารณาคดี มอร์แมนพยายามหาตรรกะของบทสนทนา โดยใช้สถานภาพของผู้พูดในการพิจารณาเป็นหลัก | เอกสาร บทความ

149. รหัส : MM-1-41-4/2

การใช้ภาษาในศาล

| บทสนทนาในศาลที่แสดงให้เห็นถึงการตั้งคำถามและการตอบคำถาม ปฏิกริยาที่เกิดขึ้นในการพิจารณาคดี รวมถึงลักษณะของการพูดแบบต่างๆ เช่น การเปลี่ยนผลัดในการพูด การพูดซ้อน การถามซ้ำ การตรวจสอบความเข้าใจ | เอกสาร บทความ

150. รหัส : MM-1-41-5

ลักษณะการพูดเกินจริง

| การใช้ภาษาที่เป็นลักษณะการพูดเกินจริง ในการไต่สวนคดี | เอกสาร บทความ