ชนชาติจ้วง

ขอบเขตและเนื้อหา :

เอกสารส่วนหนึ่งเกิดขึ้นในการเก็บข้อมูลนิทานชาวบ้านและเพลงชาวบ้าน และใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ การสังเกตการณ์ และการวิเคราะห์ข้อมูล ตามแนวทางของนักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ส่วนเรื่องประเพณี พิธีกรรม ภาษิตและพังเพย ตลอดจนวิถีชีวิตบางแง่มุม เป็นผลการวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลและการสัมภาษณ์ผู้บอกข้อมูล (ชาวบ้านจ้วง) ในอีกส่วนหนึ่งเป็นบทความและหนังสือในการเผยแพร่ข้อมูลงานวิจัย

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ :

แหล่งที่มาของเอกสาร : บริจาคโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, พ.ศ. 2562

การจัดเรียงเอกสาร : ชุดเอกสารระดับ series จำแนกออกเป็น 2 file ตามลักษณะการทำงาน โดยแบ่งเป็น เอกสารที่เกิดจากการทำงานในสาธารณรัฐประชาชนจีน และเอกสารที่เกิดขึ้นหลังสนามในราชอาณาจักรไทย

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล : ไม่มีข้อจำกัดในการใช้

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

111. รหัส : SK-1-2-2-22

เทศกาลร้องเพลงของจ้วงในอู่หมิง [บทความภาษาอังกฤษ]

| สำเนาบทความเพียงบางส่วน เกี่ยวกับเทศกาลร้องเพลงของชาวจ้วง และกระดาษบันทึก 10 แผ่น จากเนื้อหาการศึกษาของนักวิชาการต่าง ๆ ที่ศึกษาเรื่องจ้วง เช่น งานศึกษาเปรียบเทียบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น โครงสร้างทางสังคมไทย-จ้วง ชีวิตและความเป็นอยู่ | เอกสาร บทความ

112. รหัส : SK-1-2-2-23

รู้ภาษาจ้วงไปทำไม

| ผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการเข้าใจภาษาจ้วงเพื่อนำมาใช้อธิบายความหมายคำไทยบางคำ และช่วยสันนิษฐาน ความเป็นอยู่ ความเชื่อ และความคิด ของชาวจ้วง | เอกสาร บทความ

113. รหัส : SK-1-2-2-24

ตำนานสร้างโลกของชนชาติไท

| การวิจัยต้องการศึกษาเปรียบเทียบตำนานสร้างโลกของชนชาติ ทั้งที่อยู่ในและนอกประเทศไทย | เอกสาร บทความ

114. รหัส : SK-1-2-2-25

ปริศนาว่าด้วยอัตลักษณ์และเอกลัษณ์ชาติพันธุ์ของกลุ่มที่ใช้ภาษา "ตระกูลไท"

| พ.ศ. 2549 | ผู้เขียนพยายามตอบปริศนาเรื่องพัฒนาการอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของกลุ่มที่ใช้ภาษาตระกูลไท โดยวิเคราะห์กลุ่มที่นักภาษาศาสตร์จัดว่าใกล้ชิดกัน โดยใช้หลักฐานอื่น ๆ พบว่าจากประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ไตเหนือไม่มีความสัมพันธ์ในจิตสำนึกและอัตลักษณ์ร่วมกับลื้อ เขิน ยอง และย | เอกสาร บทความ

115. รหัส : SK-1-2-2-26

หวาเวินตุ๊เปิ่น เล่ม 1 ตอนต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 [ภาษาจีน]

| พ.ศ. 2515 | แบบสอนอ่านภาษาจีนที่มีภาพประกอบคำ เปรียบเทียบคำ และใช้ตัวอักษรที่มีขีดน้อยไปหามาก | เอกสาร บทความ

116. รหัส : SK-1-2-2-27

หวาเวินเค่อเปิ่นเล่ม 1 ตอนต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 [ภาษาจีน]

| พ.ศ. 2515 | แบบสอนอ่านภาษาจีนที่มีภาพประกอบคำ เปรียบเทียบคำ และใช้ตัวอักษรที่มีขีดน้อยไปหามาก | เอกสาร บทความ

117. รหัส : SK-1-2-2-28

หวาเวินตุ๊เปิ่น เล่ม 2 ตอนต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 [ภาษาจีน]

| พ.ศ. 2511 | แบบสอนอ่านภาษาจีนที่มีภาพประกอบคำ เปรียบเทียบคำ และใช้ตัวอักษรที่มีขีดน้อยไปหามาก | เอกสาร บทความ

118. รหัส : SK-1-2-2-29

หวาเวินเค่อเปิ่นเล่ม 2 ตอนต้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 [ภาษาจีน]

| พ.ศ. 2516 | แบบสอนอ่านภาษาจีนที่มีภาพประกอบคำ เปรียบเทียบคำ และใช้ตัวอักษรที่มีขีดน้อยไปหามาก | เอกสาร บทความ

119. รหัส : SK-1-2-2-30

ควายกับเสือ : นิทานพื้นเมืองของจีน [ภาษาอังกฤษ]

| พ.ศ. 2523 | เรียบเรียงนิทานพื้นเมือง จำนวน 22 เรื่อง โดยระบุแหล่งที่มาของนิทาน เช่น นิทานชนชาติฮัน นิทานชนชาติจ้วง ประกอบภาพวาด | เอกสาร บทความ

120. รหัส : SK-1-2-2-31

ผู้ขี่กบ : นิทานพื้นเมืองของจีน. [ภาษาอังกฤษ]

| พ.ศ. 2523 | เรียบเรียงนิทานพื้นเมือง จำนวน 9 เรื่อง โดยระบุแหล่งที่มาของนิทาน เช่น นิทานชนชาติฮัน นิทานชนชาติจ้วง ประกอบภาพวาด | เอกสาร บทความ