ลาว

ขอบเขตและเนื้อหา :

บันทึกภาคสนามจากการทำงานของ ดร.ไมเคิล วิกเคอรี ในประเทศลาว ประกอบด้วยฟิล์มเนกาทีฟและสไลด์ จากการทำงาน ในช่วงปี พ.ศ. 2503-2545 ภาพถ่ายเหล่านี้แสดงให้เห็นความเป็นอยู่ของชาวลาวที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวงพระบาง และนครหลวงเวียงจันทน์ ทั้งยังมีภาพถ่ายของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง และวัดที่สำคัญในประเทศลาว เช่น วัดภูสี การแสดงผีตาโขน และภาพถ่ายการเฉลิมฉลองเทศกาลสงกรานต์

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ : ฟิล์มเนกาทีฟและสไลด์ 645 ภาพ

แหล่งที่มาของเอกสาร : บริจาคโดย ไมเคิล วิกเคอรี พ.ศ. 2560

การจัดเรียงเอกสาร :

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล : ไม่มีข้อจำกัดในการใช้

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

1191. รหัส : MV-4-3-034

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1192. รหัส : MV-4-3-035

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1193. รหัส : MV-4-3-036

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1194. รหัส : MV-4-3-037

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1195. รหัส : MV-4-3-038

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1196. รหัส : MV-4-3-039

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1197. รหัส : MV-4-3-040

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1198. รหัส : MV-4-3-041

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1199. รหัส : MV-4-3-042

ลาว

| พ.ศ. 2508 | พระพุทธรูปลาว | สไลด์

1200. รหัส : MV-4-3-043

เวียงจันทน์

| พ.ศ. 2508 | ซากปรักหักพังรูปปั้น ณ บริเวณหอพระแก้ว | สไลด์