บันทึกภาคสนามในไทย

ขอบเขตและเนื้อหา :

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ :

แหล่งที่มาของเอกสาร : บริจาคโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, พ.ศ. 2562

การจัดเรียงเอกสาร : ไม่มีโครงสร้างการจัดเรียงเฉพาะ สมุดบันทึกได้รับการแบ่งตามพื้นที่ที่ระบุไว้หน้าสมุด

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล : ไม่มีข้อจำกัดในการใช้

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

1. รหัส : SK-2-2-01

บันทึกข้อมูลภาคสนาม

| พ.ศ. 2530 | บันทึกข้อมูลภาคสนาม ในหลายช่วงเวลา เริ่มต้นวันที่ 23 ตุลาคม 2530 ถึง 20 พฤษภาคม 2532 ในอำเภอฝาง อำเภอแม่จัน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ส่วนใหญ่เป็นบันทึกนิทารเย้าจากผู้ให้ข้อมูล โดยมีการระบุชื่อผู้ให้ข้อมูล อายุ และสถานที่ในการสัมภาษณ์ รวมถึงบันทึกการทำงา | สมุดบันทึก

2. รหัส : SK-2-2-02

บันทึกข้อมูลภาคสนาม

| พ.ศ. 2530 | ในบันทึกระบุวันที่เริ่ม 30 พ.ย. ถึง 4 ธ.ค. ไม่ระบุ พ.ศ. เป็นการบันทึกคำสัมภาษณ์ขนาดสั้น โดยระบุชื่อผู้ให้ข้อมูล อายุ และสถานที่พำนัก เกี่ยวกับเรื่องเล่าของชนชาติเย้า นิทาน และเกร็ดความรู้อื่น ๆ | สมุดบันทึก

3. รหัส : SK-2-2-03

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2530 | เล่ม 1 บ้านขุนบง เชียงราย ผู้ช่วยเก็บข้อมูลถอดเสียงจากเทปคลาเซ็ต ม้วนที่ 1-12 ประกอบด้วยนิทานจำนวน 36 เรื่อง โดยมีการระบุว่านิทานเรื่องดังกล่าวบันทึกในกลุ่ม "เย้าเก่า" หรือ "เย้าใหม่" อันหมายถึงการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคนเย้าตามระยะเวลา เช่น "ผัวโง่" "ไซอิ๋ว | สมุดบันทึก

4. รหัส : SK-2-2-04

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2530 | เล่ม 2 บ้านขุนบง เชียงราย ผู้ช่วยเก็บข้อมูลถอดเสียงจากเทปคลาเซ็ต ม้วนที่ 13-16 ประกอบด้วยนิทานจำนวน 28 เรื่อง โดยมีการระบุว่านิทานเรื่องดังกล่าวบันทึกในกลุ่ม "เย้าเก่า" หรือ "เย้าใหม่" อันหมายถึงการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคนเย้าตามระยะเวลา เช่น "เทวดาลงมาโปรด" | สมุดบันทึก

5. รหัส : SK-2-2-05

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านห้วยสะนาว ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน วันที่ 19 มกราคม-1 กุมภาพันธ์ 2531 [ปก เย้าน่าน ชุด 1 เล่ม 1] บันทึกนิทาน 39 เรื่อง ในแต่ละช่วงของการบันทึก ผู้เขียนบระบุข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติผู้ให้ข้อมูลโดยสังเขป เนื้อหานิทาน และประเภทนิทาน จุดประสงค | สมุดบันทึก

6. รหัส : SK-2-2-06

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านป่ากลาง ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน วันที่ 27 กุมภาพันธ์-6 มีนาคม 2531 [ปก เย้าน่าน ชุด 1 เล่ม 2] บันทึกนิทาน 20 เรื่อง ในแต่ละช่วงของการบันทึก ผู้เขียนบระบุข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติผู้ให้ข้อมูลโดยสังเขป เนื้อหานิทาน และประเภทนิทาน จุดประสงค์ | สมุดบันทึก

7. รหัส : SK-2-2-07

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านห้วยสะนาว ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน วันที่ 4-20 เมษายน 2531 [ปก เย้าน่าน ชุด 2 เล่ม 1] บันทึกนิทาน 52 เรื่อง ในแต่ละช่วงของการบันทึก ผู้เขียนบระบุข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติผู้ให้ข้อมูลโดยสังเขป เนื้อหานิทาน และประเภทนิทาน จุดประสงค์ รวมถึงบุค | สมุดบันทึก

8. รหัส : SK-2-2-08

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านห้วยสะนาว ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน วันที่ 17 มิถุนายน-4 กรกฎาคม 2531 [ปก เย้าน่านชุด 2 เล่ม 2] บันทึกนิทาน 17 เรื่อง ในแต่ละช่วงของการบันทึก ผู้เขียนบระบุข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติผู้ให้ข้อมูลโดยสังเขป เนื้อหานิทาน และประเภทนิทาน จุดประสงค์ | สมุดบันทึก

9. รหัส : SK-2-2-09

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านป่ากลาง ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน [ปก จินตหรา สุขพัฒน์] บันทึกเรื่อง "โต้หน่านจ๊วย เก้อว" เรื่อง เด็ก ลำบาก เป็นการบันทึกสัทอักษรไทยและแปลความหมายภาษาไทย จำนวน 3 หน้า | สมุดบันทึก

10. รหัส : SK-2-2-10

สมุดบันทึกนิทานเย้า

| พ.ศ. 2531 | บ้านห้วยสะนาว ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน วันที่ 22 สิงหาคม-7 กันยายน 2531 [ปก เย้าน่านชุด 3 เล่ม 1-1, ปก วิว] บันทึกนิทาน 12 เรื่อง ในแต่ละช่วงของการบันทึก ผู้เขียนบระบุข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับหมู่บ้าน ประวัติผู้ให้ข้อมูลโดยสังเขป เนื้อหานิทาน และประเภทนิทาน จุ | สมุดบันทึก