เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 1,031 ระเบียน

View |

961. รหัส : SP-1-3-36

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ผู้หญิงชาวไต (โถ) กำลังเดินไปทำนา | ภาพถ่าย

962. รหัส : SP-1-3-37

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ลักษณะการสร้างบ้านที่มีสระน้ำและทำนา โดยระบบชลประทานทำให้ได้ผลผลิตพอเพียงแก่การบริโภคภายในครอบครัว ผลผลิตที่เหลือก็นำไปจำหน่ายและแลกเปลี่ยนกับสิ่งของอื่นๆ ที่ครอบครัวต้องการ หรือเก็บสะสมเป็นทุนไว้ใช้จ่ายในโอกาสที่ครอบครัวมีความจำเป็น | ภาพถ่าย

963. รหัส : SP-1-3-38

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ครอบครัวชาวไต (โถ) 3 รุ่น หน้าบ้านพัก ที่ตำบลหัวลาว | ภาพถ่าย

964. รหัส : SP-1-3-39

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | สามีและภรรยาชาวไต (โถ) หน้าบ้านที่สร้างบนดินโดยไม่มีเสา | ภาพถ่าย

965. รหัส : SP-1-3-40

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ชายชราชาวไต (โถ) ในชุดแต่งกายแบบเป็นทางการของกลุ่ม | ภาพถ่าย

966. รหัส : SP-1-3-41

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ผู้หญิงชาวไต (โถ) กำลังถอนหญ้าและเก็บวัชพืชออกจากต้นข้าวในนา | ภาพถ่าย

967. รหัส : SP-1-3-42

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | สภาพบ้านเรือนของคนไต (โถ) ที่ตำบลหัวลาว ภาษาพูดของไตโถจัดว่าอยู่ในภาษาตระกูลไทกลุ่มกลาง ส่วนภาษาพวกไทดำจัดว่าอยู่ในกลุ่มตะวันตกเฉียงใต้ | ภาพถ่าย

968. รหัส : SP-1-3-43

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | ผู้หญิงชาวไต (โถ) ในชุดแต่งกายตามประเพณีของกลุ่ม แต่เดิมผ้าโพกผมจะเป็นผ้าทอมือ แต่ปัจจุบันเลิกผลิตเอง นิยมซื้อผ้าจากตลาดแทน | ภาพถ่าย

969. รหัส : SP-1-3-44

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | กลุ่มผู้ชายชาวไต (โถ) ปัจจุบันนิยมใส่เสื้อผ้าตามแบบสากล ซื้อหาได้จากตลาด ส่วนผู้สูงอายุยังใช้ชุดแบบเดิมสีน้ำเงินเข้มหรือดำ | ภาพถ่าย

970. รหัส : SP-1-3-45

อำเภอบัดซาด,จังหวัดเลากาย

| พ.ศ. 2545 | กลุ่มผู้หญิงชาวไต (โถ) นั่งรวมกันเป็นกลุ่มข้างเตาไฟบนบ้าน | ภาพถ่าย