81. รหัส : OKH-1-1-1-081

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ผู้ชายลีซูประกอบพิธีอยู่ด้านหน้าหิ้งบรรพบุรุษ | สไลด์

82. รหัส : OKH-1-1-1-082

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | บ้านของชาวจีนฮ่อกับหิ้งบรรพบุรุษ | สไลด์

83. รหัส : OKH-1-1-1-083

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ศาลประจำหมู่บ้านเรียกว่า 'อิ๊ด่ามาหรืออิ๊ด่ามอ' ซึ่งเป็นเทพแห่งขุนเขา | สไลด์

84. รหัส : OKH-1-1-1-084

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | พิธีกรรมภายในศาลเจ้าประจำหมู่บ้าน 'อาปาโหม่ฮี' | สไลด์

85. รหัส : OKH-1-1-1-085

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ชาวบ้านสร้างศาลให้กับเทพแห่งขุนเขา 'อิ๊ด่ามาหรืออิ๊ด่ามอ' ในภาษาลีซู | สไลด์

86. รหัส : OKH-1-1-1-086

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ผู้นำพิธีผูกเครื่องรางให้กับผู้หญิงลีซูที่ต้องทำพิธีเรียกขวัญ | สไลด์

87. รหัส : OKH-1-1-1-087

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ผู้ชายลีซูแขวนเนื้อหมูกับต้นไม้ปีใหม่ | สไลด์

88. รหัส : OKH-1-1-1-088

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | เด็กหญิงลีซูยืนกับสัญลักษณ์ที่ทำมาจากไผ่ สัญลักษณ์นี้เป็นสัญลักษณ์ที่ปกป้องวิญญาณร้ายไม่ให้เข้ามาในบ้านและรบกวนเด็กแรกเกิด | สไลด์

89. รหัส : OKH-1-1-1-089

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | 'อาปาโหม่ฮี' หรือศาลเจ้าประจำหมู่บ้าน | สไลด์

90. รหัส : OKH-1-1-1-090

หมู่บ้านดอยล้าน จังหวัดเชียงราย

| พ.ศ. 2525 | ผู้ชายลีซูสานถาดไม้ไผ่สำหรับใช้ในพิธี 'สร้างศาลา' หรือ 'ซะละฉา' ในภาษาลีซู | สไลด์