เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 806 ระเบียน

View |

81. รหัส : HM-1-3-8

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ดอยอ่างขาง ปี 1961 นายประสิทธิ์ ดิศวัฒน์ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยชาวเขากำลังขี่ม้าขึ้นเขา ในภาพจะมองเห็นสภาพภูมิประเทศของดอยอ่างขาง | สไลด์

82. รหัส : HM-1-3-9

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ดอยอ่างขาง ปี 1961 สภาพภูมิประเทศของดอยอ่างขาง ซึ่งมีต้นสนขึ้นอยู่ทั่วไป | สไลด์

83. รหัส : HM-1-3-10

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ปี 1961 สภาพภูมิประเทศของดอยอ่างขาง ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นหุบเขา และมีพื้นที่ราบระหว่างหุบเขา | สไลด์

84. รหัส : HM-1-3-11

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ปี 1961 สภาพภูมิประเทศของดอยอ่างขาง ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นหุบเขา โดยมีการทำนาแบบขั้นบันไดตามที่ลาดเชิงเขา | สไลด์

85. รหัส : HM-1-3-12

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ปี 1961 ภายถ่ายระยะไกลแสดงสภาพการตั้งถิ่นฐานของชาวเขา ซึ่งส่วนใหญ่จะสร้างหมู่บ้านอยู่บนพื้นที่ราบขนาดเล็กตามหุบเขา | สไลด์

86. รหัส : HM-1-3-13

ชาวเขาในภาคเหนือ

| หมู่บ้านส่วนใหญ่สร้างอยู่บนพื้นที่ราบขนาดเล็กตามหุบเขา ซึ่งล้อมรอบด้วยภูเขาสูง | สไลด์

87. รหัส : HM-1-3-14

ชาวเขาในภาคเหนือ

| ชาวละหู่นิยมปลูกเรือนยกพื้นสูง และมีชานเรือนไว้เป็นที่ประกอบกิจกรรมต่างๆ ในภาพชายชาวละหู่ดำและลูกๆ กำลังนั่งอยู่ที่ชานเรือน | สไลด์

88. รหัส : HM-1-3-15

ชาวเขาในภาคเหนือ

| หมู่บ้านส่วนใหญ่สร้างอยู่บนพื้นที่ราบขนาดเล็กตามหุบเขา ซึ่งล้อมรอบด้วยภูเขาสูง | สไลด์

89. รหัส : HM-1-3-16

ชาวเขาในภาคเหนือ

| สภาพการตั้งถิ่นฐานของชาวละหู่ดำ ซึ่งมักสร้างเรือนเป็นแนวยาวตามเชิงเขา | สไลด์

90. รหัส : HM-1-3-17

ชาวเขาในภาคเหนือ

| แม้จะอาศัยอยู่ในสภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศที่คล้ายคลึงกัน แต่ชาวเขาแต่ละกลุ่มต่างๆ ก็มีรูปแบบการสร้างเรือนที่แตกต่างกัน เพราะแต่ละกลุ่มต่างๆ มีวัฒนธรรมในการสร้างเรือนที่เป็นรูปแบบเฉพาะของตน ทั้งนี้ ชาวละหู่มักนิยมปลูกเรือนบนพื้นที่ลาดเอียงของภูเขา | สไลด์