51. รหัส : H-1-5-9

สังคมชาวนาในภาคเหนือของประเทศไทย

| บทความ “สังคมชาวนาในภาคเหนือของประเทศไทย” โดย Andrew Turton ปรากฎในวารสาร “The Journal of Peasant Studies” เล่มที่ 3 ปีที่ 3 เดือนเมษายน ปี 1976 บทความนี้อธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างเกี่ยวกับกฎหมายของนักการเมือง ในกลุ่มของชาวนาในภาคเหนือของประเทศไทย ระหว่างเวลาสองช่วงด้วยกันคือ 1910-50 และ 1950-70 ครอบครัวของชาวนาและชุมชนท้องถิ่น ผู้อาวุโสของหมู่บ้านและผู้ใหญ่บ้าน แบบแผนปฏิบัติทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และรูปแบบที่เปลี่ยนแปลง สาเหตุและวิธีการของการเกิดการโต้แย้งและปัญหาจะถูกวิเคราะห์ในบริบทของความแตกต่างด้านสังคมและเศรษฐกิจ | เอกสาร บทความ

52. รหัส : H-1-5-10

อิทธิพลของศาสนาพุทธในประเทศไทย: พฤติกรรมในการบริหารงาน

| สรุปเนื้อหาบทความเรื่อง “อิทธิพลของศาสนาพุทธในประเทศไทย: พฤติกรรมในการบริหารงาน” โดย Thinapan Nikata แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธปรัชญาที่เข้ามามีผลต่อพฤติกรรมการบริหารงานของไทย | เอกสาร บทความ

53. รหัส : H-1-5-11

การผลิตภาชนะดินเผา

| การศึกษาเรื่องการผลิตภาชนะดินเผาในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย Leedom Lefferts และ Louise Alloson Cort รายงานฉบับนี้เสนอการค้นพบเบื้องต้นเกี่ยวกับวิธีการจำแนกกระบวนการการผลิตภาชนะดินเผาร่วมสมัย รวมไปถึงการให้ความหมายการแพร่ของกระบวนการเหล่านี้ไปยังกลุ่มประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | เอกสาร บทความ

54. รหัส : H-1-5-12

ผ้าทอไทยอีสาน

| รายงานการศึกษาผ้าทอของชาวไทยอีสาน ในปี 1980 โดย Leedom Lefferts | เอกสาร บทความ

55. รหัส : H-1-5-13

ผู้หญิงกับกระบวนการผลิตภาชนะดินเผา

| บทความเรื่อง “ผู้หญิง ศูนย์กลางของงานช่างฝีมือเชิงอุตสาหกรรม: การผลิตภาชนะดินเผาในภาคอีสานของประเทศไทย” โดย Leedom Lefferts และ Louise Alloson Cort ปรากฎในวารสาร Museum Anthropology ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 กล่าวถึงบทบาทของผู้หญิงในกระบวนการผลิตภาชนะดินเผาของครอบครัวกลุ่มชาวไทยโคราช ผู้ศึกษาพบว่าเทคนิคและการจัดการทางสังคมในการผลิตภาชนะดินเผานั้นแตกต่างกันไปตามกลุ่มชาติพันธุ์ | เอกสาร บทความ

56. รหัส : H-1-5-14

ภาชนะดินเผาและผ้าในภาคอีสานของประเทศไทย

| ภาชนะดินเผาและผ้าในภาคอีสานของประเทศไทย การศึกษาเรื่อง “Little Things Mean A Lot: Pots and Cloth in Northeast Thailand” โดย Leedom Lefferts และ Louise Alloson Cort ปรากฎในวารสารของสยามสมาคม ปีที่ 85 เล่มที่ 1และ 2 ผู้วิจัยศึกษาการทอผ้าและการผลิตภาชนะดินเผาในภาคอีสานของประเทศไทย เพื่อเป็นหนทางในการเข้าใจเทคโนโลยีการผลิตและการตลาด รวมไปถึงความสัมพันธ์ของชาติพันธุ์กับเทคโนโลยี บทบาทของเพศ ระดับชั้นทางสังคมในกระบวนการผลิต และมิติทางศิลปะของการผลิตเชิงวัฒนธรรม | เอกสาร บทความ

57. รหัส : H-1-5-15

เทคโนโลยีของภาชนะดินเผา

| การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตภาชนะดินเผาร่วมสมัย ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย Leedom Lefferts และ Louise Alloson Cort การศึกษานี้ได้แสดงขั้นตอนต่างๆ ของการผลิตภาชนะดินเผา โดยเฉพาะในขั้นตอนที่ผู้หญิงเป็นผู้ผลิตด้วยมือ | เอกสาร บทความ

58. รหัส : H-1-5-16

จดหมายจาก Leedom Lefferts ถึง Hanks

| วันที่ 28 พฤศจิกายน 1978 – จดหมายจาก Leedom Lefferts ถึง Hanks เพื่อขอบคุณที่ให้ยืมผ้าไทย เพื่อนำมาจัดนิทรรศการและจัดบรรยาย พร้อมกันนี้ Lefferts ได้ส่งสำเนาบทความเกี่ยวกับผ้าทอของชาวไทยอีสานมาให้ เพื่อขอความคิดเห็นและข้อแนะนำจาก Hanks | จดหมาย

59. รหัส : H-1-5-17

จดหมายจาก Constance M. Wilson ถึง Lucien M. Hanks

| วันที่ 27 พฤษภาคม 1987 – Wilson ได้ส่งสำเนารายงานการศึกษาเรื่อง “คาราวานชาวส่วย : การค้าและการเก็บภาษีในที่ราบสูงโคราชและหุบเขาแม่โขงกลาง ปี 1830-1870 มาให้กับ Hanks เพื่อเป็นข้อมูลช่วยสำหรับการศึกษาชาวเขา | จดหมาย

60. รหัส : H-1-5-18

เพชรพลอยในเมืองไทย

| การบรรยายประกอบสไลด์ก่อนการประชุมประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติ ของสยามสมาคม โดย Raiko H Ruzic เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 1964 บรรยายถึงแหล่งหินอันมีค่าในประเทศไทย และความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างเพชรพลอยกับชีวิตและกิจกรรมของมนุษย์ มนุษย์แวดล้อมด้วยหินอันมีค่าที่มีความเชื่อว่ามีคุณสมบัติที่เป็นเวทมนต์ เป็นยารักษาโรค และนำมาซึ่งโชคดี | เอกสาร บทความ