1. รหัส : H-1-2-14/2

การประชุมเชิงปฏิบัติการคหกรรมศาสตร์

| Thai – วันที่ 23-24 กรกฎาคม 1958, เจน แฮงค์และผู้เข้าร่วมประชุมคหกรรมศาสตร์ที่วิทยาลัยรัฐนิวยอร์ค มหาวิทยาลัยคอแนล, อิทากา, นิวยอร์ค การประชุมเชิงปฏิบัติการการศึกษานานาชาติเกี่ยวกับคหกรรมศาสตร์ | ภาพถ่าย

2. รหัส : H-1-2-14/1

การประชุมเชิงปฏิบัติการคหกรรมศาสตร์

| รายงานการประชุมเชิงปฎิบัติการคหกรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 7-25 กรกฎาคม ค.ศ. 1958 มหาวิทยาลัยคอแนล โดยเจน แฮงค์, เอกสารสรุปการหารือเรื่องทรัพยากรทางมานุษยวิทยาสำหรับคหกรรมศาสตร์, โครงการของผู้เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการนานาชาติเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กและ ความสัมพันธ์ในครอบครัว, รายชื่อผู้ตอบรับเข้าร่วมการประชุม, รายงานโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการคหกรรมศาสต | เอกสาร บทความ

3. รหัส : H-1-2-12

รายชื่อบุคคล

| รายชื่อบุคคล (หญิง) สามารถติดต่อและช่วยเหลือในการทำวิจัย | เอกสาร บทความ

4. รหัส : H-1-2-13

การประชุมประจำปีสมาคมเอเชียศึกษา

| การประชุมประจำปีสมาคมเอเชียศึกษา ปี 1986 รายชื่อคณะกรรมการ รายชื่อสมาชิกผู้ร่วมอภิปรายพร้อมหัวข้อ การประชุมนี้จัดขึ้นเป็นเกียรติแก่ลูเชียนและเจน แฮงค์ ในฐานะที่งานวิจัยของทั้งสองสร้างคุณูปการณือย่างมากต่อการศึกษาสังคมและ วัฒนธรรมของประเทศไทย | เอกสาร บทความ

5. รหัส : H-1-2-11

96 ฝน หลวงประสิทธิกลมัย

| หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสฉลองอายุครบ 8 รอบ หลวงประสิทธิกลมัย 22 ตุลาคม พ.ศ. 2537 | หนังสือ

6. รหัส : H-1-2-10

การอยู่รอดของชาวเขาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

| บทความโดย Jane Hamilton-Merritt กล่าวถึง ชีวิตของชาวเขาในกัมพูชา พม่า ลาวและไทย การทำมาหากินและความเป็นอยู่ของชาวเขา บางประเทศใช้ชาวเขาเป็นกองกำลังทหาร บางประเทศปราบปรามชาวเขาที่ต่อต้านอย่างรุนแรง ด้วยเชื่อง่าชาวเขากลุ่มนี้อาจเป็นกบฏต่อรัฐบาล คนจำนวนน้อยที่รู้จักกลุ่มชาติพันธุ์และวัฒนธรรมของคนกลุ่มนี้ ชนชาวเขาจึงสูญหายไปจากความเจ็บป่วย ไม่ได้รับการศึกษา และไม่มีสิทธิ์และเสียงเรียกร้องว่าเกิดอะไรขึ้นกับพวกเขา ในอดีตชาวเขาภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์และอารยธรรมของตน แต่ปัจจุบันพวกเขาเป็นเพียงผู้อพยพ ผู้เขียนจึงต้องการก่อตั้งองค์กรขึ้นมาช่วยให้ชาวเขาอยู่รอดต่อไปได้ | เอกสาร บทความ

7. รหัส : H-1-2-9

การประชุมสัมนาเรื่องชาวเขาและประเทศไทย

| บันทึกการประชุมสัมนาเรื่องชาวเขาและประเทศไทย จัดขึ้นระหว่างวันที่ 28 ส.ค.- 1 ก.ย. 1967 เชียงใหม่ สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยชาวเขา สังเกตุการณ์และบันทึกการประชุมโดย Toshio Yatsushiro | เอกสาร บทความ

8. รหัส : H-1-2-8

สรุปข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่บริเวณแม่กก ประเทศไทย

| รายงานสรุปข้อมูลจากการสำรวจพื้นที่บริเวณแม่กก ประเทศไทย พร้อมความคิดเห็นภายหลังเกี่ยวกับรูปแบบการตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่สูง โดยลูเชียน แฮงค์, เจน แฮงค์ และลอริสตัน ชาร์ป ตามรายงานมีข้อมูลสรุปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ประชากร สภาพความเป็นอยู่ที่ดี พื้นที่บริเวณชายแดน การกระจายของประชากร การจัดการด้านการเมือง รูปแบบการเคลื่อนย้ายภายในพื้นที่ ทิศทางของการเคลื่อนย้าย การกระจายของหมู่บ้าน ปัจจัยด้านชาติพันธุ์ในที่ตั้งถิ่นฐาน และลักษณะทั่วไปของรูปแบบการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่สูง | เอกสาร บทความ

9. รหัส : H-1-2-7

การศึกษาของชาวลาหู่และอาข่า

| การศึกษาของชาวลาหู่และอาข่า โดย Paul Lewis เด็กลาหู่ได้รับการศึกษาจากโรงเรียนในหมู่บ้าน บางส่วนมีโอกาสได้เข้าไปเรียนโรงเรียนมัธยมในเชียงใหม่ โดยอาศัยอยู่ hostel ของลาหู่ ที่ได้เงินสนับสนุนจาก International Ministries of The American Baptist Churches USA ส่วนเด็กอาข่าได้รับการศึกษาจากการสนับสนุนของ The Hill Tribes Forward Fund ที่เข้าไปสร้างโรงเรียนตามหมู่บ้านอาข่า นอกจากนี้ได้รับการสนับสนุนจาก International Ministries of The American Baptist Churches USA และ Howard and Bush Foundation | เอกสาร บทความ

10. รหัส : H-1-2-4

ประเทศที่ถูกลืม ( 20 สิงหาคม 1990)

| บทความ “ประเทศที่ถูกลืม” (Forgotten Country) โดย Stan Sesser จากนิตยสาร The New Yoker ฉบับวันที่ 20 สิงหาคม 1990 ซึ่งพูดถึงลาวและเวียดนาม | เอกสาร บทความ