ศรีลังกา

ขอบเขตและเนื้อหา :

คลังเก็บเอกสาร :

ขอบเขตและสื่อ :

แหล่งที่มาของเอกสาร :

การจัดเรียงเอกสาร :

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล :

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา :

อักษร :

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร :

111. รหัส : SV-5-3-041

เมืองอนุราธปุระ

| สระสรง สร้างสำหรับพระสงฆ์ในพุทธศตวรรษที่ 13 | สไลด์

112. รหัส : SV-5-3-042

เมืองอนุราธปุระ

| สระสรง สร้างสำหรับพระสงฆ์ในพุทธศตวรรษที่ 13 | สไลด์

113. รหัส : SV-5-3-043

เมืองอนุราธปุระ

| บันไดลงสระกูฏฏัมโปกุณะ ล้วนเป็นหินแข็งแกร่ง ทางลงบันไดทุกทิศทางมีเสาหินคู่สลักเ ป็นรูปคล้ายหม้อน้ำมีฝาปิด | สไลด์

114. รหัส : SV-5-3-044

เมืองอนุราธปุระ

| ที่ปัสสาวะ ศิลปะแบบลังกา วัดอภัยคีรี | สไลด์

115. รหัส : SV-5-3-045

เมืองอนุราธปุระ

| ขุดแต่งบริเวณฐานเจดีย์อภัยคีรี | สไลด์

116. รหัส : SV-5-3-046

เมืองอนุราธปุระ

| โบราณสถานที่อนุราธปุระ | สไลด์

117. รหัส : SV-5-3-047

เมืองอนุราธปุระ

| มูนสโตน เป็นสถาปัตยกรรมหินแกะสลักรูปทรงครึ่งวงกลมมักจะวางไว้ที่ด้านล่างของบันได มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ประกอบด้วย ช้าง, ม้า, สิงโต, วัว หมายถึงการเวียนว่ายตายเกิด | สไลด์

118. รหัส : SV-5-3-048

เมืองอนุราธปุระ

| เจดีย์เชตะวัน | สไลด์

119. รหัส : SV-5-3-049

เมืองอนุราธปุระ

| หมู่กุฎีที่เมืองเก่าอนุราธปุระ | สไลด์

120. รหัส : SV-5-3-050

เมืองอนุราธปุระ

| สระสรงหลวง Kuttam Pokuna ในเขตพระราชอุทยานเมืองโปโลนารุวะ ประติมากรรมหินสลักตามบันไดทางลงเป็นรูปพระยานาค, หัวสิงห์, คนโฑ | สไลด์