ไทย

ขอบเขตและเนื้อหา :

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ :

แหล่งที่มาของเอกสาร :

การจัดเรียงเอกสาร :

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล :

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

2801. รหัส : SV-1-5-3-084

กาญจนบุรี

| ชาวมอญที่สังขละบุรี | สไลด์

2802. รหัส : SV-1-5-3-085

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี รั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2803. รหัส : SV-1-5-3-086

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี รั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2804. รหัส : SV-1-5-3-087

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี รั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2805. รหัส : SV-1-5-3-088

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี ซึ่งลักษณะบ้านจะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่น ไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน ลักษณะเด่นของบ้านชาวมอญทุกหลังต้องมีผนังและรั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2806. รหัส : SV-1-5-3-089

กาญจนบุรี

| สะพานไม้อุตตมานุสรณ์ หรือ สะพานมอญ ความยาว 1 กิโลเมตร ซึ่งหลวงพ่ออุตตมะเป็นผู้ดำเนินการสร้างเพื่อให้คนไทย กะเหรี่ยง มอญ ได้สัญจรไปมาหาสู่กันได้เป็นการสร้างความสัมพันธ์ | สไลด์

2807. รหัส : SV-1-5-3-090

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านมอญที่สังขละบุรี | สไลด์

2808. รหัส : SV-1-5-3-091

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านมอญที่สังขละบุรี | สไลด์

2809. รหัส : SV-1-5-3-092

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญ และบ้านริมคลองหรือที่ชาวมอญเรียกว่าแพริมน้ำที่สังขละบุรี | สไลด์

2810. รหัส : SV-1-5-3-093

กาญจนบุรี

| ตลาดและครอบครัวชาวมอญ | สไลด์