ไทย

ขอบเขตและเนื้อหา :

คลังเก็บเอกสาร : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

ขอบเขตและสื่อ :

แหล่งที่มาของเอกสาร :

การจัดเรียงเอกสาร :

เงื่อนไขการเข้าถึง ทำซ้ำและดัดแปลงข้อมูล :

สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ : Attribution-NonCommercial-NoDerivs (CC BY-NC-ND)

ข้อกำหนดการใช้ข้อมูลภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : Traditional Knowledge Attribution Non-Commercial (TK A-NC)

ภาษา : อังกฤษ/ไทย

อักษร : อังกฤษ/ไทย

ระบบในการจัดเรียงเอกสาร : อ้างอิงระบบ ISAD(G) ในการอธิบายชุดเอกสาร

2791. รหัส : SV-1-5-3-074

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี ซึ่งบ้านจะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่นไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน | สไลด์

2792. รหัส : SV-1-5-3-075

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี ซึ่งบ้านจะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่นไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน | สไลด์

2793. รหัส : SV-1-5-3-076

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี ซึ่งบ้านจะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่นไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน | สไลด์

2794. รหัส : SV-1-5-3-077

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี จะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่นไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน ลักษณะเด่นของบ้านชาวมอญทุกหลังต้องมีผนังและรั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2795. รหัส : SV-1-5-3-078

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี รั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2796. รหัส : SV-1-5-3-079

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี จะใช้วัสดุธรรมชาติ เช่นไม้ไผ่ บางหลังก็อาจจะมีไม้สักหรือไม้แดงมาผสมตามฐานะของแต่ละบ้าน ลักษณะเด่นของบ้านชาวมอญทุกหลังต้องมีผนังและรั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2797. รหัส : SV-1-5-3-080

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี รั้วบ้านที่ใช้ไม้ไผ่ตีบางๆ มาสานเป็นลวดลายสวยงาม ภาษามอญจะเรียกว่า 'ทะแตง' | สไลด์

2798. รหัส : SV-1-5-3-081

กาญจนบุรี

| หมู่บ้านชาวมอญที่สังขละบุรี | สไลด์

2799. รหัส : SV-1-5-3-082

กาญจนบุรี

| หิ้งพระของบ้านชาวมอญ จะมีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมยื่นออกมาจากตัวบ้าน เพราะมีความเชื่อว่าพระกับคนเป็นชนชั้นที่อยู่พื้นที่ร่วมกันไม่ได้ จึงต้องสร้างพื้นที่สำหรับไว้หิ้งพระโดยเฉพาะ | สไลด์

2800. รหัส : SV-1-5-3-083

กาญจนบุรี

| หิ้งพระของบ้านชาวมอญ จะมีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมยื่นออกมาจากตัวบ้าน เพราะมีความเชื่อว่าพระกับคนเป็นชนชั้นที่อยู่พื้นที่ร่วมกันไม่ได้ จึงต้องสร้างพื้นที่สำหรับไว้หิ้งพระโดยเฉพาะ | สไลด์