เอกสารจดหมายเหตุ

ทั้งหมด : 34,847 ระเบียน

31. รหัส : SK-1-2-3-19

งานสัมมนาการศึกษาวรรณกรรมจีน-ไทย

| พ.ศ. 2551 | ประวัติย่อและผลงานนักวิชาการไทยและจีนในงานสัมมนาเมื่อวันที่ 15 เมษายน 2551 | หนังสือ

32. รหัส : SK-1-2-3-20

รายงานเกี่ยวด้วยสถานการณ์บางประการในกรุงนานกิงของพระยาอภิบาลราชไมตรี (ต้อม บุนนาค) เอกอัครราชทูต ณ กรุงนานกิง (2492)

| พ.ศ. 2558 | เอกสารจดหมายเหตุตีพิมพ์โดยมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เกี่ยวกับความปราชัยของรัฐบาลจีนชาตินิยมแก่คอมมิวนิสต์จีน | หนังสือ

33. รหัส : SK-2-1-15

แนวทางศึกษาวรรณกรรมพื้นบ้านประเภทลายลักษณ์.

| พ.ศ. 2533 | [กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ] หนังสือให้คำอธิบายเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบ้านประเภทลายลักษณ์ในภูมิภาคต่าง ๆ เพื่อชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ การถ่ายโอนและการปรับปรนวรรณกรรมพื้นบ้านไทย ระหว่างภูมิภาค และเป็นกรอบในการศึกษาวรรณกรรมกับสังคม | หนังสือ

34. รหัส : SK-2-4-02

เยือนถิ่นเย้า มณฑลกวางสี ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

| พ.ศ. 2535 | หนังสือที่ตีพิมพ์เป็นลำดับที่สามในชุดรายงานการวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าเย้า ในประเทศไทยและจีน มาจากการเรียบเรียงบันทึการเดินทางของคณะวิจันไทยที่โอกาศไปเก็บข้อมูลภาคสนาม ที่มณฑลกวางสี เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ระหว่างเดือนตุลาคมกึงเดือนพฤศจิกายน | หนังสือ

35. รหัส : SK-2-4-04

เย้าไทย เย้ากวางสี เสื้อผ้าและเครื่องประดับ

| พ.ศ. 2535 | หนังสือลำดับที่ 2 ในชุดรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าเข้าในประเทศไทยและประเทศจีน กล่าวถึงรูปแบบของเสื้อผ้า ลายปักผ้า และเครื่องประดับ และเปรียบเทียบเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับของเย้าทั้งสองพื้นที่ | หนังสือ

36. รหัส : SK-2-4-05

คำเรียกสีในภาษาเย้า (เมี่ยน)

| พ.ศ. 2535 | หนังสือในลำดับที่ 4 ในชุดรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าเย้าในประเทศไทยและประเทศจีน โดยอาศัยข้อมูลภาคสนามในประเทศไทยใน 6 หมู่บ้านในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน ลำปาง เพื่อทำความเข้าใจคำเรียกสีพื้นฐานและทัศนคติทีมีต่อสีของกลุ่มชนเย้า | หนังสือ

37. รหัส : SK-2-4-07

เกีย เซ็น ป๊อง หนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา

| พ.ศ. 2534 | รายงานผลการสำรวจและแปลหนังสือโบราณของเย้า(เมี่ยน) ที่เรียกว่า เกียเซ็นป๊อง หรือหนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา หนังสือมีเนื้อหา 2 ส่วน เป็นรายงานการค้นคว้าเกี่ยวกับหนังสือเพียเซ็นป็อง และส่วนที่สองเป็นภาพถ่ายข้อความในหนังสือที่เขียนด้วยอักษรจีน ประกอบคำแปลภาษา | หนังสือ