เอกสารจดหมายเหตุ

ทั้งหมด : 34,847 ระเบียน

21. รหัส : SK-1-2-3-09

คำเรียกสีและการรับรู้สีของชาวจ้วงและชาวไทย

| พ.ศ. 2538 | งานวิจัยมุ่งวิเคราะห์คำเรียกสีในภาษาจ้วงและภาษาไทย แล้วนำมาเปรียบเทียบ เพื่อสรุปความเหมือนและความต่างในเรื่องการจำแนกสีพื้นฐาน และการรับรู้สีของชาวจ้วงและชาวไทย | หนังสือ

22. รหัส : SK-1-2-3-10

ชื่อหมู่บ้านในมณฑลกวางสีและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

| พ.ศ. 2535 | วัตถุประสงค์ของงานต้องการศึกษาชื่อหมู่บ้านจ้วงในเขตมณฑลกวางสีและการตั้งชื่อ และความสัมพันธ์กับภูมิประเทศ และศึกษาเปรียบเทียบกับชื่อและการตั้งชื่อหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย | หนังสือ

23. รหัส : SK-1-2-3-11

ลักษณนามในภาษาจ้วง

| พ.ศ. 2538 | การศึกษาลักษณนามในภาษาจ้วงถิ่นต่าง ๆ เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ของภาษาถิ่น อิทธิพลของภาษาจีน และความเชื่อมโยงกับภาษาไทย | หนังสือ

24. รหัส : SK-1-2-3-12

พจนานุกรม จ้วงใต้-ไทย

| พ.ศ. 2535 | พจนานุกรม จัดเรียงตามคำเขียนด้วยตัวอักษรโรมันในภาษาจ้วง และให้ความหมายในภาษาไทย | หนังสือ

25. รหัส : SK-1-2-3-13

พจนานุกรมไทย-จ้วง

| พ.ศ. 2532 | พจนานุกรม จัดเรียงคำในภาษาไทยตามลำดับอักษร และให้คำจ้วงในระบบเขียนอักษรโรมัน | หนังสือ

26. รหัส : SK-1-2-3-14

เทศกาลร้องเพลงชาวจ้วงที่อู่หมิง

| พ.ศ. 2530 | [วารสารเมืองโบราณปีที่ 13 ฉบับที่ 3, น.91-99]บทความกล่าวถึงเทศกาลร้องเพลงในเมืองอู่หมิง เนื้อหากล่าวถึงสภาพของบรรยากาศ ลำดับเทศกาล เนื้อหาของเพลง และความสนุกสนานของผู้ที่เข้าร่วมงานเทศกาล | หนังสือ

27. รหัส : SK-1-2-3-15

สังคมและวัฒนธรรมในอุษาคเนย์

| พ.ศ. 2543 | หนังสือตีพิมพ์จากเอกสารประกอบการสอนวิชา ชาติพันธุ์วิทยาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้บนแผ่นดินใหญ่ โดยแบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ แนวคิดวิวัฒนาการทางศาสนา, พัฒนาการกลุ่มชนดั้งเดิมและชนเผ่าในอุษาคเนย์, ความเชื่อและพิธีกรรม และการทำความเข้าใจความคิดของกลุ่มชนผ่านตำนาน | หนังสือ

28. รหัส : SK-1-2-3-16

คนไทยอยู่ที่นี่อุษาคเนย์

| พ.ศ. 2537 | หนังสือนำเสนอในลักษณะบันทึกการเดินทางของผู้เขียนกับนักวิชาการ ในหมู่บ้านจ้วง มณฑลกวางสี จีน เพื่อบันทึกหลักฐานทางโบราณคดี มานุษยวิทยา และเอกสารลายลักษณ์ ในการอธิบายความเชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมจ้วงและอุษาคเนย์ | หนังสือ

29. รหัส : SK-1-2-3-17

ชาวจ้วง

| พ.ศ. 2539 | ตำรากล่าวถึงประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมของชาวจ้วง ซึ่งเป็นกลุ่มคนพูดภาษาดั้งเดิมคล้ายภาษาไท (ไทย) โดยมีนักวิชาการจ้วงเจียนเป็นภาษาจีน และแปลเป็นภาษาไทย | หนังสือ

30. รหัส : SK-1-2-3-18

งานสัมมนาการศึกษาจ้วง-ไทยในมิติต่าง ๆ [ภาษาไทยและภาษาจีน]

| พ.ศ. 2549 | บทความแลกเปลี่ยนว่าด้วยจ้วงกับไทย ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางสายเลือด, ภาษา, ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ รวมถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และการตั้งถิ่นฐาน ในงานสัมมนาเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2549 | หนังสือ