81. รหัส : AG-1-1/1-83
งานวิจัยบ้านสันโป่ง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่
| ปี พ.ศ. 2523-2524 ยุ้งสองชั้น ของชาวนาที่มีฐานะร่ำรวย อาจมีนาตั้งแต่ 10 ไร่ขึ้นไป (ชาวนาโดยทั่วไปจะถือครองที่ดินเพียงแค่ 4 ไร่ ต่อครัวเรือน) | สไลด์
ทั้งหมด : 34,847 ระเบียน
81. รหัส : AG-1-1/1-83
| ปี พ.ศ. 2523-2524 ยุ้งสองชั้น ของชาวนาที่มีฐานะร่ำรวย อาจมีนาตั้งแต่ 10 ไร่ขึ้นไป (ชาวนาโดยทั่วไปจะถือครองที่ดินเพียงแค่ 4 ไร่ ต่อครัวเรือน) | สไลด์
82. รหัส : AG-1-1/1-84
| ปี พ.ศ. 2523-2524 สะตวงสำหรับใส่ของเพื่อเซ่นผี เมื่อมีคนเจ็บป่วยในครัวเรือนจะนำไปเซ่นไว้ที่ทุ่งนา | สไลด์
83. รหัส : AG-1-1/1-85
| ปี พ.ศ. 2523-2524 การทำขวัญควายหลังจากที่ใช้ควายไถนาแล้ว | สไลด์
84. รหัส : AG-1-1/1-86
| ปี พ.ศ. 2523-2524 การทำสู่ขวัญควาย | สไลด์
85. รหัส : AG-1-1/1-87
| ปี พ.ศ. 2523-2524 แปลงปลูกหอมหัวใหญ่ – การเลือกปลูกถั่วเหลืองหรือหอมหัวใหญ่หลังจากปลูกข้าวนั้นขึ้นอยู่กับสถานภาพทางเศรษฐกิจของแต่ละครัวเรือน การปลูกถั่วเหลืองใช้ทุนและแรงงานน้อย ในขณะที่การปลูกหอมหัวใหญ่ใช้ทุนและแรงงานสูง มีความเสี่ยงมากกว่าแต่ให้ราคาที่ดี | สไลด์
86. รหัส : AG-1-1/1-88
| ปี พ.ศ. 2523-2524 ผู้ชายกำลังตัดตอเฟืองหรือตอฟาง ด้วยเครื่องตัดที่ประยุกต์มาจากคันไถนา | สไลด์
87. รหัส : AG-1-1/1-89
| ปี พ.ศ. 2523-2524 สภาพพื้นที่นาหลังจากตัดตอฟางหมดแล้ว จากนั้นจะนำฟางมาสุมและเผาที่กลางทุ่งนา และขี้มุกหรือขี้เถ้าที่ได้จากการเผาจะนำไปหยอดตามต้นข้าวหรือถั่วเหลืองเพื่อเป็นปุ๋ย | สไลด์
88. รหัส : AG-1-1/1-90
| ปี พ.ศ. 2523-2524 การเผากองฟางที่กลางทุ่งนา | สไลด์
89. รหัส : AG-1-1/1-91
| ปี พ.ศ. 2523-2524 บางครั้งชาวนาจะไม่นำฟางมาสุมแล้วค่อยเผา แต่จะเผาตรงที่นาหลังจากที่ตัดเสร็จ เนื่องจากการเผาในลักษณะนี้จะเป็นการฆ่าเชื้อโรคที่ติดมากับข้าวที่อาจไปทำลายการปลูกถั่วเหลืองได้ | สไลด์
90. รหัส : AG-1-1/1-92
| ปี พ.ศ. 2523-2524 ชาวนากำลังเผากองฟางจากได้จากการตัดตอฟาง | สไลด์