เอกสารจดหมายเหตุ

ทั้งหมด : 34,847 ระเบียน

View |

751. รหัส : AG-1-1/2-216

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ชายคนนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการประกอบพิธีกรรม (เก๊าผี) เนื่องจากตระกูลนี้ไม่ได้ทำพิธีเลี้ยงผีปู่ย่ามานานจึงต้องจ้างวานให้เก๊าผีของอีกตระกูลหนึ่งมาเป็นที่นั่งผาม (ผู้กำกับพิธีกรรมในฐานะผู้รู้รายละเอียดต่างๆ ของพิธี) ของที่เซ่นไหว้คือปลาแห้ง ในวันแรกของพิธีกรรม (วันเตรียมการ) จะสร้างผามให้เสร็จก่อนอาหารเช้า เก๊าผี ที่นั่งผาม ผู้แก้บน และผู่เฒ่าผู้แก่ในตระกูลจะทำพิธีเชิญผีปู่ย่าที่หอผีเข้าผาม ขอให้มารับเครื่องเซ่น และร่วมพิธีตามที่บนเอาไว้ | สไลด์

752. รหัส : AG-1-1/2-217

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ชายคนนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการประกอบพิธีกรรม (เก๊าผี) เนื่องจากตระกูลนี้ไม่ได้ทำพิธีเลี้ยงผีปู่ย่ามานานจึงต้องจ้างวานให้เก๊าผีของอีกตระกูลหนึ่งมาเป็นที่นั่งผาม (ผู้กำกับพิธีกรรมในฐานะผู้รู้รายละเอียดต่างๆ ของพิธี) ของที่เซ่นไหว้คือปลาแห้ง ในวันแรกของพิธีกรรม (วันเตรียมการ) จะสร้างผามให้เสร็จก่อนอาหารเช้า เก๊าผี ที่นั่งผาม ผู้แก้บน และผู่เฒ่าผู้แก่ในตระกูลจะทำพิธีเชิญผีปู่ย่าที่หอผีเข้าผาม ขอให้มารับเครื่องเซ่น และร่วมพิธีตามที่บนเอาไว้ | สไลด์

753. รหัส : AG-1-1/2-218

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ชายคนนี้เป็นผู้เชี่ยวชาญในการประกอบพิธีกรรม (เก๊าผี) เนื่องจากตระกูลนี้ไม่ได้ทำพิธีเลี้ยงผีปู่ย่ามานานจึงต้องจ้างวานให้เก๊าผีของอีกตระกูลหนึ่งมาเป็นที่นั่งผาม (ผู้กำกับพิธีกรรมในฐานะผู้รู้รายละเอียดต่างๆ ของพิธี) ของที่เซ่นไหว้คือปลาแห้ง ในวันแรกของพิธีกรรม (วันเตรียมการ) จะสร้างผามให้เสร็จก่อนอาหารเช้า เก๊าผี ที่นั่งผาม ผู้แก้บน และผู่เฒ่าผู้แก่ในตระกูลจะทำพิธีเชิญผีปู่ย่าที่หอผีเข้าผาม ขอให้มารับเครื่องเซ่น และร่วมพิธีตามที่บนเอาไว้ | สไลด์

754. รหัส : AG-1-1/1-2

งานวิจัยบ้านสันโป่ง อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่

| ภาพถ่ายทางอากาศของหมู่บ้าน มีนาล้อมรอบ ถัดออกไปจากที่นาทางด้านซ้ายมือ เป็นที่ดอนสำหรับปลูกถั่วเหลืองเพื่อนำเมล็ดพันธุ์ไปปลูกในที่นา | สไลด์

755. รหัส : MM-1-11-2

การมัดขวัญแม่และลูก

| อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับทำพิธีมัดขวัญ ขั้นตอนต่างๆของพิธีมัดขวัญสำหรับแม่และลูกที่เกิดมา การให้พร เมื่อเสร็จพิธีมีการรับประทานอาหารร่วมกัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

756. รหัส : MM-1-11-3

การขอลูกจากสิ่งเหนือธรรมชาติ

| ชาวบ้านนิยมไปขอลูกที่วัดพระนั่งดิน โดยใช้ไม้เสียงทายทำนายว่าจะได้ตามที่ต้องการหรือไม่ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

757. รหัส : MM-1-11-4

การคลอด

| การคลอดของชาวบ้าน ขั้นตอนในการทำคลอด การดูแลแม่และเด็กแรกคลอด พิธีกรรมหลังคลอด ข้อห้ามบางประการและข้อปฏิบัติของแม่ การคลอดลูกในท่านั่ง เด็กแรกคลอดจะถูกวางไว้บนกระด้ง 3 วัน เพื่อนบ้านจะมาช่วยทำงานและดูแลเด็กให้จนกว่าแม่จะสามารถทำได้เอง การมัดขวัญ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

758. รหัส : MM-1-11-5

การเกิด (เด็กคลอดยาก)

| การคลอดลูกมีบางรายที่คลอดยาก ต้องตามหมอพื้นบ้าน หมอเป่า(คาถา)หรือหมอแผนปัจจุบันมาช่วย การฝังรก การดูแลแม่และเด็กหลังคลอด อาหารสำหรับแม่หลังคลอด | บัตรบันทึกแบบเจาะ

759. รหัส : MM-1-11-6

การอยู่ไฟ (กำเดือน)

| ระยะเวลาการอยู่ไฟของแม่หลังคลอด กำหนดตามเพศของลูกที่เกิด ลูกชายอยู่ไฟ 29 วัน ลูกสาวอยู่ไฟ 30 วัน รายการอาหารที่ต้องห้ามสำหรับแม่หลังคลอดรับประทานในเดือนแรก | บัตรบันทึกแบบเจาะ

760. รหัส : MM-1-11-7

การออกเดือนหลังคลอด

| ขั้นตอนของพิธีการออกเดือนของแม่หลังคลอด การเตรียมของไหว้ หมอพื้นบ้าน(ธรรมชัย)จะเป็นคนทำพิธี | บัตรบันทึกแบบเจาะ