เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 754 ระเบียน

View |

511. รหัส : AG-1-1/2-247

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ร่างทรงกำลังฟ้อนรำหลังจากทำพิธีบวชผ้าขาวแล้ว | สไลด์

512. รหัส : AG-1-1/2-248

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

513. รหัส : AG-1-1/2-249

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

514. รหัส : AG-1-1/2-250

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

515. รหัส : AG-1-1/2-251

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

516. รหัส : AG-1-1/2-252

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

517. รหัส : AG-1-1/2-253

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

518. รหัส : AG-1-1/2-254

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

519. รหัส : AG-1-1/2-255

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์

520. รหัส : AG-1-1/2-256

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีตัดหัวหน่อกล้วย เริ่มด้วยการแห่หน่อกล้วยเข้าผาม ลูกหลานและที่นั่งผามจะช่วยกันชำระล้างหน่อกล้วยด้วยน้ำส้มป่อยและเหล้า เชื่อกันว่าหน่อกล้วยเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ เพราะสามารถแตกหน่ออกกอได้ดี จึงใช้เป็นตัวแทนของปู่ย่าที่สละชีพเพื่อขจัดทุกข์ของลูกหลาน ดังนั้นลูกหลานจึงตอบแทนบุญคุณด้วยการรดน้ำให้ทาน เพื่อสะเดาะเคราะห์ พิธีจะทำใต้ผ้าจ่อง เพราะถือเป็นสื่อติดต่อกับปู่ย่า หน่อกล้วยจะถูกตัดออกเป็นเจ็ดส่วนเพื่อประกอบอาหาร ส่วนหัวจะนำไปทำเป็นลูกกลมๆ เพื่อใช้ในพิธีชิงหัวกล้วยในตอนบ่าย | สไลด์