เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 754 ระเบียน

View |

501. รหัส : AG-1-1/2-237

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

502. รหัส : AG-1-1/2-238

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

503. รหัส : AG-1-1/2-239

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ที่นั่งผาม (ผู้ประกอบพิธีกรรม) และลูกหลาน เชิญผีปู่ย่าเข้าผามที่ต้นหว้า ถือกันว่าผีปู่ย่าบรรจุอยู่ในห่อผ้าแดง ที่เรียกว่า “ผ้าป๊กปี้” ซึ่งจะมีหมาก เมี่ยง บุหรี่ ข้าวตอก ดอกไม้ ธูป ในพิธีจึงนำห่อผ้าแดงคอนดาบเข้ามาไว้ที่กลางผาม จากนั้นที่นั่ง (ร่างทรง) และประกอบพิธีตามลำดับ พร้อมๆ กับฟ้อนรำตลอดเวลา | สไลด์

504. รหัส : AG-1-1/2-240

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน | สไลด์

505. รหัส : AG-1-1/2-241

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน | สไลด์

506. รหัส : AG-1-1/2-242

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน | สไลด์

507. รหัส : AG-1-1/2-243

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน จากนั้นเมื่อเข้าไปในผามแล้วจะจุดจ๋องแหลงบูชากองข้าวสาร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของพระธาตุตะโก้งหรือเจดีย์ชเวดากอง ที่เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของชาวมอญ | สไลด์

508. รหัส : AG-1-1/2-244

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน จากนั้นเมื่อเข้าไปในผามแล้วจะจุดจ๋องแหลงบูชากองข้าวสาร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของพระธาตุตะโก้งหรือเจดีย์ชเวดากอง ที่เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของชาวมอญ | สไลด์

509. รหัส : AG-1-1/2-245

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน จากนั้นเมื่อเข้าไปในผามแล้วจะจุดจ๋องแหลงบูชากองข้าวสาร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของพระธาตุตะโก้งหรือเจดีย์ชเวดากอง ที่เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของชาวมอญ | สไลด์

510. รหัส : AG-1-1/2-246

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) พิธีบวชผีผ้าขาว ที่นั่ง (ร่างทรง) ซึ่งเป็นผีที่มีอาวุโสที่สุดในตระกูลจะมานั่งที่ต้นหว้าเพื่อให้ลูกหลานอาบน้ำ แล้วจึงลงทรง นุ่งขาวห่มขาว ต่อจากนั้นผีผ้าขาวจะแจกฝ้ายไหมเม็งหรือสายสิญจน์ ให้ลูกหลานสำหรับมัดมือ เป็นเครื่องแสดงว่านับถือผีเดียวกัน จากนั้นเมื่อเข้าไปในผามแล้วจะจุดจ๋องแหลงบูชากองข้าวสาร ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของพระธาตุตะโก้งหรือเจดีย์ชเวดากอง ที่เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของชาวมอญ | สไลด์