เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 754 ระเบียน

View |

491. รหัส : AG-1-1/2-227

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) วันเตรียมงาน (วันดา) เป็นการเตรียมเครื่องบูชาในการทำพิธีไปไว้ที่หิ้งบูชาซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก | สไลด์

492. รหัส : AG-1-1/2-228

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) วันเตรียมงาน (วันดา) เป็นการเตรียมเครื่องบูชาในการทำพิธีไปไว้ที่หิ้งบูชาซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก | สไลด์

493. รหัส : AG-1-1/2-229

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) วันเตรียมงาน (วันดา) เครื่องบูชาบนหิ้งบูชาซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก มีผลไม้ หมาก ดอกไม้ ธูป เทียนหลวง กองข้าวสาร กองข้าวสารเป็นสัญลักษณ์แทนพระธาตุชเวดากอง เนื่องจากคนกลุ่มนี้สืบเชื้อสายมาจากมอญ | สไลด์

494. รหัส : AG-1-1/2-230

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) วันเตรียมงาน (วันดา) เครื่องบูชาบนหิ้งบูชาซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตก มีผลไม้ หมาก ดอกไม้ ธูป เทียนหลวง กองข้าวสาร กองข้าวสารเป็นสัญลักษณ์แทนพระธาตุชเวดากอง เนื่องจากคนกลุ่มนี้สืบเชื้อสายมาจากมอญ | สไลด์

495. รหัส : AG-1-1/2-231

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) ผู้หญิงที่มีอาวุโสในตระกูลคนอื่นๆ จะรับหน้าที่ต่างๆ ในพิธี ที่สำคัญคือ ในภาพคือแม่เตากำหรือแม่เตาไฟ ทำหน้าที่ปรุงอาหารและขนม เพื่อเซ่นผีที่มาในพิธี จะนั่งอยู่ด้านตะวันออกเฉียงใต้หรือมุมซ้ายด้านหน้าติดกับประตูผาม | สไลด์

496. รหัส : AG-1-1/2-232

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

497. รหัส : AG-1-1/2-233

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

498. รหัส : AG-1-1/2-234

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

499. รหัส : AG-1-1/2-235

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์

500. รหัส : AG-1-1/2-236

พิธีเลี้ยงผีเม็ง จ.ลำปาง

| วันที่ 14-16 มีนาคม 2530 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าเพื่อแก้บนของคนในตระกูล (ลูกของคนทรงผีเจ้าขุนศึก) บริเวณต้นหว้าที่อยู่หน้าผาม ถือเป็นต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของผีเม็ง เป็นจุดที่ทำพิธีฆ่าสัตว์เพื่อเซ่นสังเวย โดยสมมุติว่าเป็นป่า ถือว่าต้นหว้าผลิดอกออกผลมากมายในเดือนที่ทำพิธี ซึ่งเชื่อว่าช่วยให้ตระกูลแพร่หลานได้เช่นลูกหว้า บ้างก็เชื่อว่าที่ใช้ต้นหว้าเพราได้ซื้อผีมาจากชาวไทใหญ่ที่ใต้ต้นหว้า แต่ในแง่สัญลักษณ์แล้วแสดงความผูกพันระหว่างมนุษย์กับป่า ที่เสมือนแหล่งให้กำเนิดชีวิต เฉกเช่นเป็นที่สิงสถิตย์ของผีบรรพบุรุษ ส่วนคนที่จะเข้าไปในผามต้องมาชำระล้างร่างกายให้สะอาดก่อนบริเวณต้นหว้า | สไลด์