เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 754 ระเบียน

View |

411. รหัส : AG-1-1/2-130

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ หมูที่ฆ่าแล้วจะนำมาต้ม | สไลด์

412. รหัส : AG-1-1/2-131

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กับผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

413. รหัส : AG-1-1/2-132

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

414. รหัส : AG-1-1/2-133

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

415. รหัส : AG-1-1/2-134

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

416. รหัส : AG-1-1/2-135

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

417. รหัส : AG-1-1/2-136

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

418. รหัส : AG-1-1/2-137

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ เนื้อหมูบางส่วนที่ได้จากการฆ่าหมูเพื่อเซ่นผีปู่ย่าจะนำมาทำเป็นอาหาร ทำลาบดิบ (พ้องเสียงกับคำว่า “ลาภ” ถือเป็นความหมายที่เป็นมงคล) โดยจะนำอาหารใส่ถ้วยแล้ววางเรียงไว้บนโต๊ะเป็นแถวยาว ผีปู่ย่าจะหยิบอาหารบางส่วนขว้างทิ้ง โดยเชื่อว่าเป็นการแบ่งปันอาหารให้กะผีที่ไม่มีญาติเลี้ยงดู ถือว่าเป็นการทำบุญ | สไลด์

419. รหัส : AG-1-1/2-138

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ บริเวณผามประกอบพิธี (ปะรำพิธี) หลังคาผามของพิธีเลี้ยงผีมดจะมุงหญ้าคาแบนราบคลุมพื้นที่สี่เหลี่ยม ปัจจุบันใช้ผ้าใบแทน ด้านข้างเปิดโล่ง มีต้นมะขามตั้งอยู่ตรงกลางผาม ประดับด้วยหุ่นรูปสัตว์ต่างๆ แสดงสัญลักษณ์ว่าเป็นป่า ที่ใต้ต้นมะขามจะมีโต๊ะวางเครือ่งเซ่นไหว้ มีอาวุธที่ใช้ล่าสัตว์วางไว้ ผีปู่ย่าที่เข้าทรงแล้วจะฟ้อนด้วยท่าทางต่างๆ เช่น ฟ้อนเชิง ฟ้อนดาบ | สไลด์

420. รหัส : AG-1-1/2-139

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ นอกจากการฟ้อนรำแล้ว ยังมีการละเล่นของผีปู่ย่าในผามประกอบพิธี มีการละเล่นถ่อเรือถ่อแพออกไปหาปลา การล่าสัตว์ต่างๆ ยิงนก ยิงลิง ปัดต่อปัดแตน การคล้องช้าง และการคล้องม้า ทั้งหมดเป็นการสรุปภาพชีวิตของคนในสังคมเกษตรกรรม | สไลด์