เนื้อหาแบ่งตามประเภท :

ทั้งหมด : 754 ระเบียน

View |

351. รหัส : AG-1-1/2-70

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ ผีปู่ย่าที่เข้าทรงแล้วจะฟ้อนด้วยท่าทางต่างๆ เช่น ฟ้อนเชิง ฟ้อนดาบ | สไลด์

352. รหัส : AG-1-1/2-71

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ บรรยากาศบริเวณรอบๆ ผามประกอบพิธี ลูกหลานที่มาร่วมพิธีกรรม ผู้เข้าร่วมพิธีไหว้ผีปู่ย่าอาจจะเป็นคนที่เรียกกันว่า “ลูกผี” คือผู้ที่เข้ามาขออยู่ในความคุ้มครองของตระกูลผีมด ส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของผู้ที่เกี่ยวดองกัน | สไลด์

353. รหัส : AG-1-1/2-72

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ กลุ่มคนทรงผีปู่ย่า สิ่งที่วางข้างหน้าคือสัตว์ที่แกะสลักด้วยไม้ เพื่อใช้ประกอบในพิธีกรรม | สไลด์

354. รหัส : AG-1-1/2-73

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ ภาพบรรยากาศการเข้าทรงบนเรือนเก๊า (บ้านต้นตระกูล) กลุ่มคนทรงต้องมาทำพิธีทรงบนเรือนเก๊า ซึ่งมีหิ้งผีปู่ย่าในห้องนอนของเก๊าผี คนทรงของผีปู่ย่าส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่น้องกัน ซึ่งมักเป็นคนชรา | สไลด์

355. รหัส : AG-1-1/2-74

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ บรรยากาศบริเวณรอบๆ ผามประกอบพิธี ลูกหลานที่มาร่วมพิธีกรรม ผู้เข้าร่วมพิธีไหว้ผีปู่ย่าอาจจะเป็นคนที่เรียกกันว่า “ลูกผี” คือผู้ที่เข้ามาขออยู่ในความคุ้มครองของตระกูลผีมด ส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของผู้ที่เกี่ยวดองกัน | สไลด์

356. รหัส : AG-1-1/2-75

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ ในระหว่างพิธีกรรม ผีปู่ย่าจะช่วยเหลือลูกหลานในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดโอกาสให้บน สะเดาะเคราะห์ ดูโชคชะตา และหาสาเหตุของโรค | สไลด์

357. รหัส : AG-1-1/2-76

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| ในระหว่างพิธีกรรม ผีปู่ย่าจะช่วยเหลือลูกหลานในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเปิดโอกาสให้บน สะเดาะเคราะห์ ดูโชคชะตา และหาสาเหตุของโรค | สไลด์

358. รหัส : AG-1-1/2-77

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ บรรยากาศบริเวณรอบๆ ผามประกอบพิธี ลูกหลานที่มาร่วมพิธีกรรม ผู้เข้าร่วมพิธีไหว้ผีปู่ย่าอาจจะเป็นคนที่เรียกกันว่า “ลูกผี” คือผู้ที่เข้ามาขออยู่ในความคุ้มครองของตระกูลผีมด ส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของผู้ที่เกี่ยวดองกัน ด้านหลังคือผามประกอบพิธีและหอผีปู่ย่า | สไลด์

359. รหัส : AG-1-1/2-78

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ ลูกหลานกำลังช่วยแต่งตัวให้ร่างทรงผีปู่ย่า | สไลด์

360. รหัส : AG-1-1/2-79

พิธีเลี้ยงผีมด จ.แพร่

| วันที่ 12-15 มีนาคม 2529 – พิธีเลี้ยงผีปู่ย่าของกลุ่มตระกูลเชื้อสายเจ้าเมืองแพร่ ผีปู่ย่าที่เข้าทรงแล้วจะฟ้อนด้วยท่าทางต่างๆ เช่น ฟ้อนเชิง ฟ้อนดาบ | สไลด์