161. รหัส : MM-1-16-33

เรื่องเล่าในอดีตของลื้อ

| พ่อแก่ขาวเล่าเรื่องของ ครอบครัวหนึ่งที่พ่อมีภรรยาใหม่แล้วพยายามจะกำจัดลูกของตัวเอง | บัตรบันทึกแบบเจาะ

162. รหัส : MM-1-16-34

สิบสองปันนา

| หนทางจากแม่สายไปสิบสองปันนา สภาพความเป็นอยู่และสภาพภูมิอากาศที่สิบสองปันนา | บัตรบันทึกแบบเจาะ

163. รหัส : MM-1-16-35

ที่มาชื่อหมู่บ้านในอดีต

| ที่มาของชื่อบ้านหนองหล่ม,ชื่อแม่น้ำแวน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

164. รหัส : MM-1-16-36

ส่งเคราะห์

| ภาพร่างและข้อมูลเรื่องของสัตว์ที่ใส่ในสะโตงในพิธีส่งเคราะห์ มี วัว เหยี่ยว แมว ช้าง ราชสีห์ หนู นาคและเสือ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

165. รหัส : MM-1-16-37

วิธีการส่งสะโตง

| วิธีการส่งสะโตงเพื่อให้หายป่วย หรือเมื่อเกิดจันทรคราสและที่มาของการเกิดจันทรคราสตามความเชื่อของลื้อ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

166. รหัส : MM-1-16-38

เรื่องเล่าเกี่ยวกับการเกิดของเด็ก

| พระนำมาเทศน์เรื่องที่เกี่ยวกับการเกิดเด็ก | บัตรบันทึกแบบเจาะ

167. รหัส : MM-1-16-39

คนลื้อ

| คนลื้ออาศัยอยู่ที่อื่นๆนอกจากเชียงคำ เช่น เชียงใหม่ น่าน แพร่ ลำพูน และลำปาง ส่วนที่เชียงคานเป็นเขินที่มาจากลาว | บัตรบันทึกแบบเจาะ

168. รหัส : MM-1-16-40

เปรียบเทียบลื้อ

| หมู่บ้านยองที่ลำพูนมีวิถีชีวิตคล้ายคนเมือง(ยวน) มาก ไม่นิยมทอผ้าไว้ใช้แล้ว หญิงสาวไม่เกล้าผม | บัตรบันทึกแบบเจาะ

169. รหัส : MM-1-16-41

นิทานพื้นบ้าน

| ธรรมใจเล่านิทานพื้นบ้านให้ฟังในงานศพ เป็นเรื่องของสามีภรรยาคู่หนึ่งที่ต่อมาภรรยาได้เป็นมเหสีกษัตริย์แล้วอยากช่วยเหลือสามีเก่าไม่ให้ลำบาก | บัตรบันทึกแบบเจาะ

170. รหัส : MM-1-16-42

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

| ชาวบ้านมีแต่การแข่งขัน เด็กไม่ค่อยบวชเรียนไม่เหมือนสังคมในอดีตที่ทุกคนช่วยเหลือกัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ