141. รหัส : MM-1-16-13

บวชเณรเป็นพระภิกษุ

| เณรต่องจะบวชพระ หาคนมาเป็นเจ้าภาพบวช หากหาไม่ได้ก็จะลาสิกขา ชาวบ้านจึงช่วยกันเป็นเจ้าภาพให้ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

142. รหัส : MM-1-16-14

บวชพระ

| การบรรพชาสามเณรและการอุปสมบทพระ เป็นงานบุญที่ชาวบ้านช่วยกันเตรียมงาน ทั้งเรื่องอาหาร เครื่องบวช พิธีกรรมในงาน การเรียนรู้ของพระบวชใหม่ในบทบาทของพระและค่าใช้จ่ายในงาน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

143. รหัส : MM-1-16-15

วันเข้าพรรษา

| กิจกรรมก่อนวันเข้าพรรษา การเตรียมของถวยพระ และกิจกรรมของชาวบ้านในวันเข้าพรรษาที่ทำร่วมกัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

144. รหัส : MM-1-16-16

พระจ๊อยจะลาสิกขา

| พระจ๊อยต้องการลาสิกขา แต่คนในหมู่บ้านบางคนอยากให้บวชต่อ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

145. รหัส : MM-1-16-17

กิจกรรมต่างๆที่ชาวบ้านช่วยกันทำ

| รายละเอียดการร่วมกันทำงาน เช่น ทำปราสาทสำหรับทำบุญให้คนตาย, การทำเครื่องใช้ต่างๆ ในการทำบุญ | บัตรบันทึกแบบเจาะ

146. รหัส : MM-1-16-18

ปีใหม่:วันล่อง (วันสังขารล่อง)

| วันสังขารล่องเป็นวันแรกของปีใหม่ไทย เป็นวันที่ชาวบ้านทำความสะอาดบริเวณบ้านเรือน ไปจ่ายตลาดซื้อของมาเตรียมทำบุญและข้อห้ามต่างๆที่ห้ามทำในวันที่15 เมย.(วันพญาวัน) | บัตรบันทึกแบบเจาะ

147. รหัส : MM-1-16-19

วันเนา

| กิจกรรมต่างๆที่ทำในวันเนา การจับจ่ายซื้อของ ทำอาหารและขนมสำหรับฉลองในวันปีใหม่ การสาดน้ำสงกรานต์ การขนทรายจากแม่น้ำไปวัดและการเตรียมงานฉลองสำหรับวันพญาวัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

148. รหัส : MM-1-16-20

พิธีที่วัดในวันพญาวัน

| พิธีทำบุญที่วัด ชาวบ้านนำข้าวและขนมมาวัดกับตุง(ธง)กระดาษ พิธีสงฆ์และกิจกรรมของชาวบ้าน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

149. รหัส : MM-1-16-21

วันพญาวัน

| หลังจากไปวัด ชาวบ้านกลับมามีกิจกรรมที่บ้านเป็นการขอขมาคนแก่ที่นับถือ และมีการเล่นน้ำสงกรานต์กัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ

150. รหัส : MM-1-16-22

วันพญาวัน

| ชาวบ้านจะไปขอขมาพระสงฆ์โดยการสรงน้ำส้มป่อย พิธีสรงน้ำพระ จากนั้นเป็นการขอขมาผีของหมู่บ้านและคนแก่ที่นับถือ มีการเล่นน้ำสงกรานต์ตลอดทั้งวัน | บัตรบันทึกแบบเจาะ