191. รหัส : SK-2-4-04

เย้าไทย เย้ากวางสี เสื้อผ้าและเครื่องประดับ

| พ.ศ. 2535 | หนังสือลำดับที่ 2 ในชุดรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าเข้าในประเทศไทยและประเทศจีน กล่าวถึงรูปแบบของเสื้อผ้า ลายปักผ้า และเครื่องประดับ และเปรียบเทียบเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับของเย้าทั้งสองพื้นที่ | หนังสือ

192. รหัส : SK-2-4-05

คำเรียกสีในภาษาเย้า (เมี่ยน)

| พ.ศ. 2535 | หนังสือในลำดับที่ 4 ในชุดรายงานผลการวิจัยเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าเย้าในประเทศไทยและประเทศจีน โดยอาศัยข้อมูลภาคสนามในประเทศไทยใน 6 หมู่บ้านในจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน ลำปาง เพื่อทำความเข้าใจคำเรียกสีพื้นฐานและทัศนคติทีมีต่อสีของกลุ่มชนเย้า | หนังสือ

193. รหัส : SK-2-4-06

[ต้นฉบับ] ฟุเฮย-เซ้ยหมุ่ย : ตำนานกำเนิดมนุษย์ของชาวเย้า โดย (ต้นฉบับ) (25 แผ่น)

| พ.ศ. 2535 | ต้นฉบับเรื่อง ฟุเฮย-เซย้ หมุ่ย: ตำนานเนิดมนุษยของเย้า ซึ่งเป็นบทความที่จัดพิมพ์ใน "คติชนกับคนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกี่ยวกับตำนานการสร้างโลก ความขัดแย้งระหว่างเทพเจ้ากั | เอกสาร บทความ

194. รหัส : SK-2-4-07

เกีย เซ็น ป๊อง หนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา

| พ.ศ. 2534 | รายงานผลการสำรวจและแปลหนังสือโบราณของเย้า(เมี่ยน) ที่เรียกว่า เกียเซ็นป๊อง หรือหนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา หนังสือมีเนื้อหา 2 ส่วน เป็นรายงานการค้นคว้าเกี่ยวกับหนังสือเพียเซ็นป็อง และส่วนที่สองเป็นภาพถ่ายข้อความในหนังสือที่เขียนด้วยอักษรจีน ประกอบคำแปลภาษา | หนังสือ

195. รหัส : SK-2-5-01

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | 4 ตุลาคม 2532 พิพิธภัณฑ์โบราณคดีในเมืองกวางโจว | ภาพถ่าย

196. รหัส : SK-2-5-02

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | ทัศนศึกษาวัด เมืองฝ่อซาน | ภาพถ่าย

197. รหัส : SK-2-5-03

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | ทัศนศึกษาวัด เมืองฝ่อซาน | ภาพถ่าย

198. รหัส : SK-2-5-04

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | ทัศนศึกษาวัด เมืองฝ่อซาน | ภาพถ่าย

199. รหัส : SK-2-5-05

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | ทัศนศึกษาวัด เมืองฝ่อซาน | ภาพถ่าย

200. รหัส : SK-2-5-06

การทำงานภาคสนาม (เย้า) ในกวางสี

| พ.ศ. 2534 | ทัศนศึกษาวัด เมืองฝ่อซาน | ภาพถ่าย