ผลการค้นหา

Total : 8 pages, Total amount : 120 Records, Total amount : 27 databases.

รายละเอียด :

ญัฮกุร หรือ เนียะกุร เป็นคำที่ชาวญัฮกุรเรียกตนเอง คำว่า “ญัฮ” และ “เนียะ” แปลว่า “คน” ส่วนคำว่า “กุร” แปลว่า “ภูเขา” รวมความจึงแปลว่า “ชาวเขา” หรือคนภูเขา ขณะที่ชื่อที่คนส่วนใหญ่รู้จักคือ ชาวบน หรือ ชาวดง หมายถึง คนที่อยู่ในเขตภูเขาเช่นเดียวกัน ขณะที่ใ...

รายละเอียด :

ญัฮกุร หรือ เนียะกุร เป็นคำที่ชาวญัฮกุรเรียกตนเอง คำว่า “ญัฮ” และ “เนียะ” แปลว่า “คน” ส่วนคำว่า “กุร” แปลว่า “ภูเขา” รวมความจึงแปลว่า “ชาวเขา” หรือคนภูเขา ขณะที่ชื่อที่คนส่วนใหญ่รู้จักคือ ชาวบน หรือ ชาวดง หมายถึง คนที่อยู่ในเขตภูเขาเช่นเดียวกัน ขณะที่ใ...

รายละเอียด :

กลุ่มชาติพันธุ์ก่อ (อึมปี้) เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นมติร่วมกันของชาวอึมปี้ บ้านดง จังหวัดแพร่ และชาวก่อบ้านสะเกิน จังหวัดน่าน ที่ ไม่รู้จักคำว่า“อึมปี้” และยืนยันจะให้เรียกชื่อชาติพันธุ์ตนเองว่า “ก่อ” อย่างไรก็ตาม ในมิติความสัมพันธ์ทางสังคมและว...

รายละเอียด :

กลุ่มชาติพันธุ์ก่อ (อึมปี้) เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่เป็นมติร่วมกันของชาวอึมปี้ บ้านดง จังหวัดแพร่ และชาวก่อบ้านสะเกิน จังหวัดน่าน ที่ ไม่รู้จักคำว่า“อึมปี้” และยืนยันจะให้เรียกชื่อชาติพันธุ์ตนเองว่า “ก่อ” อย่างไรก็ตาม ในมิติความสัมพันธ์ทางสังคมและว...

ชื่อเรื่อง :

กะซอง

ฐานข้อมูล :
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
รายละเอียด :

เดิมกลุ่มชาติพันธุ์กะซอง (Kasong) มีชื่อเรียกตนเองและชื่อที่คนอื่นเรียกว่า “ชอง” (Chong) ต่อมานักภาษาศาสตร์จึงมีการเพิ่มระดับการรับรู้ด้วยคำขยายเพิ่มเติมทางภาษาว่า “ชองของตราด” เพื่อจำแนกความแตกต่างระหว่าง “ชองของจันทบุรี” ซึ่งเป็นกลุ่มที่ในทางภาษาศาสตร์...

ชื่อเรื่อง :

กะซอง

ฐานข้อมูล :
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
รายละเอียด :

เดิมกลุ่มชาติพันธุ์กะซอง (Kasong) มีชื่อเรียกตนเองและชื่อที่คนอื่นเรียกว่า “ชอง” (Chong) ต่อมานักภาษาศาสตร์จึงมีการเพิ่มระดับการรับรู้ด้วยคำขยายเพิ่มเติมทางภาษาว่า “ชองของตราด” เพื่อจำแนกความแตกต่างระหว่าง “ชองของจันทบุรี” ซึ่งเป็นกลุ่มที่ในทางภาษาศาสตร์...

รายละเอียด :

“กะยัน” และ “แลเคอ” เป็นชื่อที่กลุ่มชาติพันธุ์ใช้เรียกตนเอง คำว่าแลเคอ แปลว่า “ตอนบนของลำธาร” อันหมายถึงถิ่นฐานดั้งเดิมของพวกเขาในรัฐคะเรนนี สำหรับประเทศไทยนั้นเป็นที่รู้จักในชื่อของ “กะเหรี่ยงคอยาว”สืบเนื่องมาจากการสวมใส่ห่วงคอทองเหลืองนอกจากนี้ยังมีชือ...

รายละเอียด :

“กะยัน” และ “แลเคอ” เป็นชื่อที่กลุ่มชาติพันธุ์ใช้เรียกตนเอง คำว่าแลเคอ แปลว่า “ตอนบนของลำธาร” อันหมายถึงถิ่นฐานดั้งเดิมของพวกเขาในรัฐคะเรนนี สำหรับประเทศไทยนั้นเป็นที่รู้จักในชื่อของ “กะเหรี่ยงคอยาว”สืบเนื่องมาจากการสวมใส่ห่วงคอทองเหลืองนอกจากนี้ยังมีชือ...

รายละเอียด :

กลุ่มชาติพันธุ์กะแย หรือที่รู้จักในประเทศไทยว่ากะเหรี่ยงแดงนั้น มีชื่อเรียกในภาษาตนเองคือ “กะแย” หมายถึงคน หรือมนุษย์ บางครั้งออกเสียงว่ากะแยลี นอกจากนี้ยังเรียกตัวเองว่า บเว อาจออกเสียงเป็น แบร บวอย หรือปะแย ได้ด้วยช่นกัน ขณะที่คนนอกวัฒนธรรมในพื...

รายละเอียด :

กลุ่มชาติพันธุ์กะแย หรือที่รู้จักในประเทศไทยว่ากะเหรี่ยงแดงนั้น มีชื่อเรียกในภาษาตนเองคือ “กะแย” หมายถึงคน หรือมนุษย์ บางครั้งออกเสียงว่ากะแยลี นอกจากนี้ยังเรียกตัวเองว่า บเว อาจออกเสียงเป็น แบร บวอย หรือปะแย ได้ด้วยช่นกัน ขณะที่คนนอกวัฒนธรรมในพื...

ชื่อเรื่อง :

กะเลิง

ฐานข้อมูล :
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
รายละเอียด :

กะเลิง เป็นชื่อที่กลุ่มชาติพันธุ์ใช้เรียกตนเองกะเลิง ในภาษามอญ หมายถึง คนหรือมนุษย์ ในขณะเดียวกันยังมีข้อสันนิษฐานว่าคำดังกล่าวมาจากภาษาจาม คือ กะลุง (klung) เพี้ยนจากคำว่า “คุณลุน” หรือ “กุรุง” ในภาษาจีน ชื่อเรียกดังกล่าวจึงเป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกคนกลุ่ม...

ชื่อเรื่อง :

กะเลิง

ฐานข้อมูล :
กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย
รายละเอียด :

กะเลิง เป็นชื่อที่กลุ่มชาติพันธุ์ใช้เรียกตนเองกะเลิง ในภาษามอญ หมายถึง คนหรือมนุษย์ ในขณะเดียวกันยังมีข้อสันนิษฐานว่าคำดังกล่าวมาจากภาษาจาม คือ กะลุง (klung) เพี้ยนจากคำว่า “คุณลุน” หรือ “กุรุง” ในภาษาจีน ชื่อเรียกดังกล่าวจึงเป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกคนกลุ่ม...

รายละเอียด :

ชาติพันธุ์กำมุ (Khamu) เป็นชื่อเรียกตนเองตามสำเนียงท้องถิ่นว่า “กำมุ” “กึมมุ” “ข่ามุ” “พรุ่” หรือ“เคอม” ในระยะแรกนักวิชาการเรียกว่า “ข่ามุ” ต่อมาในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่า ขมุ เช่นเดียวกันกับ ชาวลาว จะเรียกชนกลุ่มกลุ...

รายละเอียด :

ชาติพันธุ์กำมุ (Khamu) เป็นชื่อเรียกตนเองตามสำเนียงท้องถิ่นว่า “กำมุ” “กึมมุ” “ข่ามุ” “พรุ่” หรือ“เคอม” ในระยะแรกนักวิชาการเรียกว่า “ข่ามุ” ต่อมาในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่า ขมุ เช่นเดียวกันกับ ชาวลาว จะเรียกชนกลุ่มกลุ...

รายละเอียด :

กลุ่มชาติพันธุ์กูยเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในกลุ่มของภาษามอญ-เขมร (Mon-Khmer) ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งของตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic) คำว่า “กูย” ซึ่งอาจกลายเป็นสำเนียงว่า “กุย, กวย, โกย หรือ โก็ย” ก็ได้ คำว่า “กูย”แปลว่า “คน” (ไม่ใช่ผี) และในบ...