เอกสารอ้างอิง

The Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

เอกสารอ้างอิง

จำนวน 853 รายการ

อุไรศรี วรศะริน และอัญชนา จิตสุทธิญาณ, “จารึกซับจำปา 1,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 116-122. อ่านต่อ >
ดวงเดือน รุ่งแสงจันทร์ และอุไรศรี วรศะริน, “จารึกบนเหรียญเงิน (บ้านคูเมือง),” ใน จารึกโบราณรุ่นแรกพบที่ลพบุรีและใกล้เคียง (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2524), 48-50. อ่านต่อ >
อำไพ คำโท, “จารึกสด๊กก๊อกธม 1,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 3 : อักษรขอม พุทธศตวรรษที่ 15-16 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 36-41. อ่านต่อ >
Saveros Pou, “Inscription de Kok Cheng (Ta Praya) (K. 999),” in Nouvelles Inscriptions du Cambodge II (Paris : École Française d’Extrême-Orient, 1996), 124-126. อ่านต่อ >
อุไรศรี วรศะริน, “คำอ่านศิลาจารึก ตำบลโคกแวง จังหวัดปราจีนบุรี,” ศิลปากร 16, 4 (พฤศจิกายน 2515) : 63-67. อ่านต่อ >
Saveros Pou, “Inscription de Vat Pa Saen (Ubon) (K. 1085),” in Nouvelles Inscriptions du Cambodge II (Paris : École Française d’Extrême-Orient, 1996), 119-134. อ่านต่อ >
ฉ่ำ ทองคำวรรณ, “จารึกแผ่นทองแดงอู่ทอง,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 225-228. อ่านต่อ >
ชะเอม แก้วคล้าย, “จารึกปากน้ำมูล 1,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 158-160. อ่านต่อ >
“จารึกเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ 41 องค์,” ใน ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน (กรุงเทพฯ : คณะสงฆ์วัดพระเชตุพน, 2544), 99-106. อ่านต่อ >
ชะเอม แก้วคล้าย, “จารึกวัดศรีเมืองแอม,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 155-157. อ่านต่อ >
ชะเอม แก้วคล้าย, “จารึกถ้ำเป็ดทองด้านใน,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 1 : อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ 12-14 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 147-150. อ่านต่อ >
ประสาร บุญประคอง, “คำอ่านจารึกบนวัตถุสัมฤทธิ์อักษรขอมโบราณและภาษาขอม : ได้มาจากโบราณสถานหมายเลข 11 เมืองพระรถ ดงศรีมหาโพธิ์ ตำบลโคกปีบ,” ศิลปากร 10, 4 (พฤศจิกายน 2509) : 70-71. อ่านต่อ >
ประสาร บุญประคอง, “หลักที่ 114 จารึกบนขอบระฆัง,” ใน ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 4 : ประมวลจารึกที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคกลางของประเทศไทย อันจารึกด้วยอักษรและภาษาไทย, ขอม, มอญ, บาลีสันสกฤต (พระนคร : คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ สำนักนายกรัฐมนตรี, 2513), 153-154. อ่านต่อ >
ฉ่ำ ทองคำวรรณ, “คำจารึกลานเงินภาษาไทย วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” ศิลปากร 2, 3 (กันยายน 2501) : 53-55. อ่านต่อ >
ฉ่ำ ทองคำวรรณ, “หลักที่ 41 จารึกลานเงินภาษาไทยวัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” ใน ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3 : ประมวลจารึกที่พบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลางของประเทศไทย อันจารึกด้วยอักษรและภาษาไทย, ขอม มอญ, บาลีสันสกฤต (พระนคร : คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี, 2508), 47-50. อ่านต่อ >
ประสาร บุญประคอง, “คำอ่านศิลาจารึก อักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา ได้มาจากวังจันทรเกษม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” ศิลปากร 7, 5 (มกราคม 2507) : 53-56. อ่านต่อ >
ฉ่ำ ทองคำวรรณ, “คำจารึกอักษรไทย ภาษาไทย บนลานเงินแผ่นที่ 2-3 พ.ศ. 1956 (ตรงในรัชกาลสมเด็จพระนครินทราธิราช) พบที่เจดีย์วัดส่องคบ จังหวัดชัยนาท,” ศิลปากร 3, 6 (มกราคม 2503) : 52-53. อ่านต่อ >
ก่องแก้ว วีระประจักษ์, “จารึกวัดส่องคบ 3,” ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม 5 : อักษรธรรม และอักษรไทย พุทธศตวรรษที่ 19-24 (กรุงเทพฯ : หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2529), 183-188. อ่านต่อ >
เทิม มีเต็ม และประสาร บุญประคอง, “คำอ่านจารึกบนแผ่นปูนขาว อักษรและภาษาไทย สมัยอยุธยา) พระเจ้าบรมโกศ),” ศิลปากร 13, 2 (กรกฎาคม 2512) : 93-99. อ่านต่อ >
ประสาร บุญประคอง, “คำอ่านจารึกอักษรไทย ภาษาไทย สมัยอยุธยา ได้มาจากวังจันทรเกษม จ. พระนครศรีอยุธยา,” ศิลปากร 7, 6 (มีนาคม 2507) : 42-44. อ่านต่อ >