บทความ


แสดง 1 ถึง 20 จาก 21 ผลลัพธ์

เสมาหินที่บ้านกุดโง้ง ชัยภูมิ

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 30 ก.ย. 2018

บ้านกุดโง้ง ต.บุ่งคล้า อ.เมืองชัยภูมิ ที่ในปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีบ้านเรือนราษฎรตั้งอยู่อย่างค่อนข้างหนาแน่นสลับกับพื้นที่เกษตรกรรมนั้น หากย้อนกลับไปเมื่อราวพันปีก่อน ก็จะพบการตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนขนาดใหญ่ และน่าจะเป็นหนึ่งในชุมชนที่มีความสำคัญในพื้นที่แถบนี้ในสมัยนั้น โดยเฉพาะด้านศาสนาและความเชื่อ เห็นได้จากการปรากฏหลักฐานเป็นเสมาหินทรายขนาดใหญ่จำนวนมาก

อ่านเพิ่มเติม

ฟันและสุขภาพช่องปากของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว อ.ห้วยขุนราม จ.ลพบุรี

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 10 พ.ย. 2017

ข้อมูลจากการศึกษาฟันและสุขภาพในช่องปากของคนก่อนประวัติศาสตร์ที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว ชุมชนโบราณชุมชนหนึ่งในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายในพื้นที่ภาคกลางฝั่งตะวันออก ทำให้ทราบข้อมูลข้อมูลด้านประชากร ชีวิตความเป็นอยู่ สังคม-วัฒนธรรมบางประการของคนในชุมชนโบราณบ้านโป่งมะนาว

อ่านเพิ่มเติม

โบราณคดีเบื้องต้นของอำเภอปากช่อง

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 9 เม.ย. 2017

ข้อมูลทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีของจังหวัดนครราชสีมาจนถึงสมัยอยุธยากล่าวถึงพื้นที่ของอำเภอปากช่องในปัจจุบันน้อยมาก บทความนี้จึงพยายามจะให้ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับโบราณคดีของปากช่อง ซึ่งผู้เขียนคาดหวังว่าในอนาคตจะมีการสำรวจศึกษาในเชิงลึกต่อไป

อ่านเพิ่มเติม

การศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดี ในเขตพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 4 ม.ค. 2017

ในปี 2558 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้สนับสนุนทุนแก่อาจารย์ศุภรัตน์ ตี่คะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เพื่อศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่จัดแสดงโบราณวัตถุในหลุมขุดค้นทางโบราณคดี ในเขตพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย 

อ่านเพิ่มเติม

วังถนนหน้าพระลาน : หลักฐานจากใต้ตึกแถว

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 15 ส.ค. 2016

จากการขุดค้นทางโบราณคดีที่ตึกแถวริมถนนหน้าพระลานเมื่อปี 2553 ภายใต้การควบคุมของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และกรมศิลปากร นอกจากจะพบข้อมูลหลักฐานการก่อสร้างตึกแถวแห่งนี้ในสมัยรัชกาลที่ 5 แล้ว ยังพบซากโบราณสถานสมัยวังถนนหน้าพระลาน

อ่านเพิ่มเติม

พัฒนาการของภูมิศาสตร์พืชพรรณก่อนการเกิดเมืองดงละคร พิจารณาจากหลักฐานเรณูวิทยาและค่าอายุเรดิโอคาร์บอน

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 30 เม.ย. 2016

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการเรื่อง “ความก้าวหน้าของโครงการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองโบราณดงละคร” ในรอบสี่ทศวรรษ (พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๔๙) วันที่ ๑๗-๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ณ โรงแรมชลพฤกษ์รีสอร์ท อ.บ้านนา จ.นครนายก

อ่านเพิ่มเติม

ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 17 เม.ย. 2016

ในสมัยปลายรัชกาลที่ 5 แล้วนั้น ก็ได้มีการรื้อกำแพงวังถนนหน้าพระลานด้านทิศใต้ (ริมถนนหน้าพระลาน) ออก แล้วสร้างเป็นตึกแถว ราว พ.ศ.2452 เพื่อรับรองแขกบ้านแขกเมืองต่างประเทศ และเพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ จนกระทั่งปัจจุบัน สถาปัตยกรรมเป็นแบบตะวันตกสมัยนีโอคลาสสิก

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานชุมชน “บ้านโป่งตะขบ”

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 28 ต.ค. 2015

"พิพิธภัณฑสถานชุมชนบ้านโป่งตะขบ" นำเสนอข้อมูล ผลการศึกษา และหลักฐานทางโบราณคดีของแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งตะขบ หนึ่งในชุมชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ของที่ราบลุ่มแม่น้ำป่าสัก 

อ่านเพิ่มเติม

ตามรอยจารึก จ.ป.ร. ที่ อ.เมือง และ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 1 ก.ค. 2015

จารึกพระปรมาภิไธยย่อ จ.ป.ร. ที่ปรากฏในที่ต่างๆ นั้นเป็นเสมือนเครื่องหมายการเสด็จเยือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งจารึกพระปรมาภิไธยย่อนี้นับเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม

วังถนนหน้าพระลาน : ประวัติการครองวัง

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 6 เม.ย. 2015

พื้นที่ริมถนนหน้าพระลานที่ในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ และตึกแถวริมถนนหน้าพระลานนั้น ในอดีตเป็นที่ตั้งของวัง 3 วัง แยกตามลักษณะที่ตั้งได้เป็น วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันตก (คนทั่วไปนิยมเรียกว่า วังท่าพระ) วังถนนหน้าพระลาน วังกลาง และวังถนนหน้าพระลาน วังตะวันออก

อ่านเพิ่มเติม

บทบันทึกเกี่ยวกับเมืองโบราณชื่อ ลวปุระ

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 26 มี.ค. 2015

*ดร.ตรงใจ หุตางกูร แปลจาก Boeles J.J., 1967. A Note on The Ancient City called Lavapura. JSS 55(1): 113-114. เกี่ยวกับจารึกเหรียญเงินที่ค้นพบที่เมืองโบราณอู่ทอง เมื่อ ค.ศ.1966

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงแสน 2557

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 1 ต.ค. 2014

อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เป็นอีกพื้นที่หนึ่งของไทยที่อุดมไปด้วยหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ สมัยหิน สมัยโลหะ ต่อเนื่องมาจนยุคประวัติศาสตร์ ที่เด่นชัดคือ เมืองเชียงแสน เมืองโบราณริมแม่น้ำโขงของอาณาจักรล้านนา สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 19 ก่อนที่จะเสื่อมโทรมลงพร้อมกับการเสื่อมอำนาจของอาณาจักรล้านนา

อ่านเพิ่มเติม

“พิพิธภัณฑ์หลวงปู่คำดี ปภาโส” วัดถ้ำผาปู่ จ.เลย

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 16 ม.ค. 2014

"พิพิธภัณฑ์หลวงปู่คำดี ปภาโส" ตั้งอยู่ภายในวัดถ้ำผาปู่ อ.เมืองเลย จ.เลย ภายในมีการจัดแสดงรูปปั้นและสิ่งของเครื่องใช้ของหลวงปู่คำดี ปภาโส หรือพระครูญาณทัสสี

อ่านเพิ่มเติม

บุหงาอาลัย เมื่อปลายยุคน้ำแข็ง : การอุทิศดอกไม้แด่ผู้ล่วงลับที่เก่าที่สุด

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 4 ธ.ค. 2013

คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแห่งไฮฟา นำโดย Prof. Dani Nadel ขุดค้นแหล่งโบราณคดี Raqefet Cave ในประเทศอิสราเอล พบหลักฐานที่เก่าที่สุดในโลกเกี่ยวกับการอุทิศดอกไม้ให้กับผู้ตายของคนในวัฒนธรรมนาทูเฟียน (Natufian culture) อายุประมาณ 13,700-11,700 ปีมาแล้ว ตรงกับช่วงปลายยุคน้ำแข็ง

อ่านเพิ่มเติม

โครงกระดูกมนุษย์โบราณจำนวนหนึ่ง ที่ได้จากการขุดค้นที่ประเทศสยาม (บทความแปล)

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 16 ต.ค. 2013

บทความแปลชิ้นนี้ ดร.ตรงใจ หุตางกูร แปลจากบทความเรื่อง "Some Ancient Human Skeletons Excavated in Siam" ของ H.G. Quaritch Wales ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Man เล่มที่ 27 (มิถุนายน 1937) หน้า 89-90 โดยเป็นการรายงานผลการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงกระดูกมนุษย์ที่ขุดค้นพบในพงตึก เมื่อ พ.ศ.2479

อ่านเพิ่มเติม

อู่ทอง เป็นเมืองชายฝั่งทะเลจริงหรือ? : สาระสังเขปจากหลักฐานเรณูวิทยาและเรดิโอคาร์บอน

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 16 ต.ค. 2013

การศึกษาทางเรณูวิทยาและกำหนดอายุทางวิทยาศาสตร์จากอินทรีย์วัตถุ ของ ดร.ตรงใจ หุตางกูร ที่พบจากการเจาะสำรวจชั้นดินที่ความลึก 10 เมตร ณ วัดโคกยายเกตุ ต.อู่ทอง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองอู่ทองไปทางทิศตะวันออก 8 กิโลเมตร เพื่อพิสูจน์ทราบถึงสภาพแวดล้อมสมัยโบราณ และอายุที่แน่นอนของปรากฎการณ์ "การรุกเข้าสูงสุดของน้ำทะเลสมัยโฮโลซีน"

อ่านเพิ่มเติม

สังคมก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่บ้านโป่งมะนาว : ศึกษาเบื้องต้นจากปริมาณวัตถุอุทิศ

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 30 ก.ย. 2013

การทดลองศึกษาในขั้นต้นเกี่ยวกับสภาพสังคมที่แฝงนัยอยู่ในหลักฐานประเภทหลุมฝังศพจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว โดยใช้ปริมาณวัตถุอุทิศหรือโบราณวัตถุที่พบในหลุมฝังศพ (Grave goods) จากตัวอย่างหลุมฝังศพที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีในหลุมขุดค้นที่ 1-4 ระหว่างปี พ.ศ.2543-2546 จำนวน 44 หลุม นำมาวิเคราะห์เชิงสถิติ

อ่านเพิ่มเติม

Stature Estimation of Modern Thais from Long bones: a cadaveric study

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 1 มี.ค. 2013

บทความนำเสนอสมการประเมินส่วนสูงคนไทยปัจจุบัน จากความยาวของกระดูกยาวส่วนแขนขา ที่ได้จากการศึกษาร่างมนุษย์ชาวไทยปัจจุบัน (วัยผู้ใหญ่) จำนวน 275 ร่าง ระหว่างปี พ.ศ.2548-2551

อ่านเพิ่มเติม

ตาพระยา : พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเทียบ วัดตาพระยา

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 1 มี.ค. 2013

"อำเภอตาพระยา" เป็นเส้นทางการติดต่อระหว่างที่ราบภาคกลางและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออกของไทยกับกัมพูชาในปัจจุบัน ปรากฏร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของคนมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก่อนที่จะเกิดเป็นชุมชนหนาแน่นในยุคประวัติศาสตร์ โบราณวัตถุที่พบในพื้นที่บางส่วนปัจจุบันถูกเก็บไว้ใน "พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเทียบ" ภายในวัดตาพระยา 

อ่านเพิ่มเติม

การคำนวณค่าอายุปีปฏิทินใหม่ด้วยโปรแกรม CALIB 6.1 จากค่าอายุเดิมของการขุดค้นทางโบราณคดี ที่ตำบลพระประโทนเจดีย์ เมืองนครปฐมโบราณ เมื่อ พ.ศ. 2526

ทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล 1 มี.ค. 2013

การศึกษาครั้งนี้ ได้แก้ไขค่าอายุเรดิโอคาร์บอนจากการขุดค้นทางโบราณคดีที่ตำบลพระประโทนในเขตเมืองนครปฐมโบราณ ซึ่งอาจเกิดจากการผิดพลาดจากการพิมพ์ข้อมูล จากเดิม คือ 2800 ± 23 BP เป็น 800 ± 23 BP นอกจากนี้ เมื่อใช้โปรแกรม CALIB 6.1 ปรับปรุงค่าอายุเรดิโอคาร์บอนจากเดิมที่อยู่ในช่วงอายุ พ.ศ. 1653 – 1699 มาเป็นค่าใหม่คือระหว่าง พ.ศ. 1766-1800

อ่านเพิ่มเติม