แหล่งโบราณคดี


แสดง 121 ถึง 140 จาก 241 ผลลัพธ์

วัดนาขวาง

ม.4 ถ.พระรามที่ 2 ต.กาหลง อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดนาโคก

เลขที่ 1 บ้านนาโคก ม.2 ต.นาโคก อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดนางสาว

ม.7 ต.ท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดบางกระเจ้า

ต.บางกระเจ้า อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร วัดบางกระเจ้า ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2338 อาคารเสนาสนะสำคัญคือ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2467

อ่านเพิ่มเติม

วัดบางปิ้ง

เลขที่ 27 ม.2 ถ.เศรษฐกิจ 1 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านไร่เจริญผล

ม.5 ต.พันท้ายนรสิงห์ อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

อ่านเพิ่มเติม

วัดป้อมวิเชียรโชติการาม

ต.มหาชัย (เทศบาลนครสมุทรสาคร) อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี  ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ติดกับป้อมวิเชียรโชฎก ไม่ทราบประวัติการก่อสร้างที่แน่ชัดว่าสร้างสมัยใด เชื่อกันว่าเริ่มสร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.2323 โดยชุมชนชาวรามัญ หรือสร้างในสมัยรัชกาลที่ 3 พร้อมกับป้้อมวิเชียรโชฎก

อ่านเพิ่มเติม

วัดปัจจันตาราม

ต.นาโคก อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2460 ตามคำบอกเล่ามาว่า ชาวรามัญร่วมกับคนไทยที่อยู่ในละแวกบ้านนั้นตั้งชื่อว่า “วัดพรมแดน” เพราะอยู่ระหว่างเขตแดนจังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม สิ่งสำคัญได้แก่หลวงพ่อพุทธศิลาแดง(หลวงพ่อแดง) ซึ่งเป็นพระพุทธรูปศิลาสีแดง มีประวัติความเป็นมาว่า สร้างมาจากหินศิลาสีแดง สร้างสมัยอยุธยาตอนกลาง อายุราว 400-500  ปี ชาวอยุธยานำมาถวาย เพื่อเป็นพระประธานในอุโบสถ

อ่านเพิ่มเติม

วัดโพธิ์แจ้

ต.บางน้ำจืด อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2456 เดิมเป็นสำนักสงฆ์ ชาวบ้านเรียกวัดตายิ้ม โดยมีนายยิ้ม-นายแดง จูพราย และนายทับ มุขจั่น เป็นผู้ถวายที่ดินให้สร้างวัด เนื่องจากตำบลนี้ยังไม่มีวัด โบราณสถานสำคัญได้แก่ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2466

อ่านเพิ่มเติม

วัดราษฎร์รังสรรค์

เลขที่ 2 ม.2 ต.คอกกระบือ อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร วัดราษฎร์รังสรรค์ (คอกกระบือ) เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ไม่ปรากฏหลักฐานการก่อสร้างที่แน่ชัด ในเอกสารประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่มที่ 21 ระบุว่าตั้งเมื่อ พ.ศ.2309 ชาวบ้านเล่าว่าที่เรียกว่าวัดคอกกระบือหรือวัดคอกควายนี้เนื่องจากพื้นที่บริเวณเดิมเป็นเนินสูง สมัยก่อนเมื่อเกิดน้ำท่วมชาวบ้านจะนำควายมาผูกไว้ที่บริเวณนี้ จึงเป็นที่มาของวัดคอกควาย

อ่านเพิ่มเติม

ถนนขึ้นดอยสุเทพ

ถ.ทางขึ้นดอยสุเทพ (ถนนศรีวิชัย) (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1004) (ต่อเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ – ดอยสุเทพ) ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เจดีย์กุด (ร้าง)

หมู่บ้านสีวลี ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงใหม่

ต.พระสิงห์ ต.ศรีภูมิ (เทศบาลนครเชียงใหม่) อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

วัดเพลง (ร้าง)

ต.บางขนุน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร.

ตั้งอยู่ริม ถ.เพชรเกษม ม.1 ต.จ.ป.ร. อ.กระบุรี จ.ระนอง  ประดิษฐานศิลาจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ จปร ที่สลักขึ้นในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทางบกและทางเรือประพาสรอบแหลมมลายูเมื่อ พ.ศ.2433 นอกจากนั้นยังประดิษฐานจารึกสลักพระปรมาภิไธยย่อ ภปร และพระนามาภิไธยย่อ สก และ สธ อีกด้วย

อ่านเพิ่มเติม

บ้านคูเมือง

บ้านคูเมือง ต.คูเมือง อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี มีการใช้พื้นที่ของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐานระยะแรกน่าจะเป็นชุมชนโบราณในสมัยสำริด อายุราว 2,500 ปีมาแล้ว ทางทิศตะวันออกของเมืองด้านนอกคูน้ำคันดิน ปรากฏการสร้างศาสนสถานขึ้น คือ โบราณสถานโนนแก ส่วนด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้นอกคูเมือง มีการขุดหนองน้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ซึ่งน่าจะเป็นบารายในสมัยวัฒนธรรมเขมร

อ่านเพิ่มเติม

บ้านก้านเหลือง

บ้านก้านเหลือง ต.ขามใหญ่ อ.เมืองอุบลราชธานี แหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลืองมีอายุอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมายังยุคประวัติศาสตร์ตอนต้น หรือตั้งแต่ 2,800-1,500 ปีมาแล้ว พบหลักฐานของการฝังศพครั้งที่ 2 ในภาชนะดินเผา ปัจจุบันมีการจัดแสดงหลุมขุดค้นและนิทรรศการ

อ่านเพิ่มเติม

วัดบ้านฉางประชานิมิตร

วัดบ้านฉางประชานิมิตร ต.เขาน้อย อ.ลำสนธิ จ.ลพบุรี เป็นสถานที่เก็บ “ศิลาจารึกขุนศรีไชยราชมงคลเทพ” ซึ่งจารึกถึงเหตุการณ์ยกทัพไปตีเมืองเขมรในรัชสมัยเจ้าสามพระยาแห่งกรุงศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าจารึกขึ้นเมื่อ พ.ศ.1974 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) เสด็จไปตีเมืองพระนครหลวงนั่นเอง

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งตัดหินวัดป่าเขาหินตัด

ต.ป่าเขาหินตัด อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา เป็นแหล่งวัตถุดิบหินทรายของคนโบราณในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 15-18 สำหรับใช้ในการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างต่างๆ โดยเฉพาะปราสาทในวัฒนธรรมเขมรในเขตอำเภอสีคิ้วและอำเภอสูงเนินในปัจจุบัน

อ่านเพิ่มเติม

บ้านสระไข่น้ำ

ม.2 บ้านสระไข่น้ำ ต.กุดตุ้ม อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ, วัดสุลาลัย ต.โพนทอง อ.เมืองชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ

อ่านเพิ่มเติม