แหล่งโบราณคดี


แสดง 181 ถึง 200 จาก 241 ผลลัพธ์

วัดป่าพระนอนพัฒนาราม

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำโนนหินเกลี้ยง2

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำสูง

อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท บ้านผักบุ้ง ต.กลางใหญ่ อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มีลวดลายของภาพเขียนสีที่ปรากฏอยู่บนเพดานและผนังของเพิงหิน ที่โดดเด่นคือลายหยักฟันเลื่อย อายุราว 3,000-2,500 ปีมาแล้ว 

อ่านเพิ่มเติม

โนนเมือง

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีนวล

เลขที่ 441 บ้านพระลับ ถ.หลังเมือง เทศบาลนครขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

วัดใหญ่ดงรัก

ม.11 บ้านรางจั่น ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองหญ้าดอกขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

วัดอินทาราม

เลขที่ 1 ม.1 บ้านหนองขาว ต.หนองขาว (เทศบาลตำบลหนองขาว) อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ศาลหลักเมืองระยอง

ถ.สุขุมวิทนครระยอง 62 (ถ.หลักเมือง) ต.ท่าประดู (เทศบาลนครระยอง) อ.เมืองระยอง จ.ระยอง เสาหลักเมืองของจังหวัดระยองสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2438 ตรงกับรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ศาลเป็นศาลไม้ ต่อมาราว พ.ศ.2468 เสาหลักเมืองและศาลชำรุดและหักลง ชาวบ้านจึงช่วยกันทำการปักลงที่เดิม แต่ยังไม่มีการสร้างอาคารคลุม คงปล่อยให้อยู่กลางแดดกลางฝนตามสภาพเดิม จน พ.ศ.2532 ชาวระยองเห็นควรปรับปรุงหลักเมืองและศาลหลักเมืองให้มั่นคงแข็งแรง

อ่านเพิ่มเติม

บ้านท้าวเทพกระษัตรี

ต.เทพกระษัตรี (เทศบาลตำบลเทพกระษัตรี) อ.ถลาง จ.ภูเก็ต นักวิชาการท้องถิ่นได้ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดี สภาพพื้นที่ และเรื่องเล่าต่างๆ แล้ว จึงสันนิษฐานว่าพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ตั้งบ้านของท้าวเทพกระษัตรี (จัน) 

อ่านเพิ่มเติม

อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ (เก่า)

อนุสาวรีย์ปราบฮ่อ (เก่า) ปัจจุบันอยู่ในสถานีตำรวจภูธรเมืองหนองคาย อ.เมืองหนองคาย เป็นอนุสรณ์สถานที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ได้โปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2429 เพื่อบรรจุอัฐิของเหล่าทหารที่เสียสละชีวิตปกป้องประเทศจากเหตุการณ์ปราบฮ่อเมื่อ พ.ศ.2420-2428

อ่านเพิ่มเติม

โคกพม่า

ม.3 และ ม.4 ต.เทพกระษัตรี อ.ถลาง จ.ภูเก็ต “โคกพม่า” แต่เดิมเป็นที่นาของเจ้าเมืองถลางบ้านเคียน และเป็นสมรภูมิในศึกถลางเมื่อปี 2328 โดยปรากฏตามหลักฐานประวัติศาสตร์ว่าทัพถลางชนะกองทัพพม่าบริเวณนี้เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2328 หรือที่มักเรียกว่า วันถลางชนะศึก

อ่านเพิ่มเติม

ป้อมยันทัพพม่า

ถ.เพชขรเกษม บ้านจวนบน ต.กุยบุรี อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

อู่ตะเภา

ม.3 บ้านท่าฝาง ต.บ่อนอก อ.เมืองประจวบคีรีขันธ์ จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

บ้านโพนพระ

ม.2 บ้านโพนพระ ต.โคกคอน อ.โคกคอน จ.หนองคาย จากหลักฐาน เช่น โครงกระดูกมนุษย์ และภาชนะดินเผา แสดงให้เห็นว่าพื้นที่บ้านโพนพระอาจเป็นพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ฝังศพของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย หรือสมัยเหล็ก โดยมีการฝังเครื่องเซ่นไปพร้อมกับร่างของผู้ตายด้วย

อ่านเพิ่มเติม

วัดหินหมากเป้ง

ม.4 บ้านไทยเจริญ ต.พระพุทธบาท อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดศรีมงคลธรรมาราม

ม.4 บ้านเวียงคุก ต.เวียงคุก (เทศบาลตำบลเวียงคุก) อ.เมืองหนองคาย จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดดงนาคำ

ม.7 บ้านศรีวิไล ต.โพธิ์ตาก อ.โพธิ์ตาก จ.หนองคาย

อ่านเพิ่มเติม

วัดกุกุรัตนาราม

วัดกุกุรัตนาราม หรือวัดไก่แก้ว ตั้งอยู่ในเทศบาลตำบลปะโค อ.เมืองหนองคาย ตามประวัติระบุว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2466 ภายในวัดปรากฏซากโบราณสถานที่สันนิษฐานว่าเป็นศาสนสถานของเมืองโบราณเวียงงัว บริเวณหน้าอุโบสถของวัด เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 1 องค์ ชาวบ้านเรียกว่า “ธาตุไก่แก้ว”

อ่านเพิ่มเติม

วัดกู่ผีบ้า(ร้าง)

ต.สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ โบราณสถานกู่ผีบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกในปัจจุบัน ไม่ปรากฏที่มาและเอกสารที่กล่าวถึงวัดนี้ที่ชัดเจน ปัจจุบันเป็นวัดร้างตั้งอยู่ภายในพื้นที่สถานีพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าเชิงดอยสุเทพและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าดอยสุเทพ สันนิษฐานว่าศาสนสถานของวัดในฝ่ายอรัญวาสีหรือวัดป่าของเมืองเชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

พุน้อย

ม.4 บ้านพุน้อย ต.สามร้อยยอด อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม