แหล่งโบราณคดี


แสดง 101 ถึง 120 จาก 120 ผลลัพธ์

เขาถ้ำพระ

ม.9 บ้านเขาถ้ำพระ ต.ดอนทราย อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี

อ่านเพิ่มเติม

ป้อมยันทัพพม่า

ถ.เพชขรเกษม บ้านจวนบน ต.กุยบุรี อ.กุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

อู่ตะเภา

ม.3 บ้านท่าฝาง ต.บ่อนอก อ.เมืองประจวบคีรีขันธ์ จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

พุน้อย

ม.4 บ้านพุน้อย ต.สามร้อยยอด อ.สามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์

อ่านเพิ่มเติม

ถ้ำเขากลาง

บ้านเขากลาง ม.13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ คือ ภาพเขียนสียุคก่อนประวัติศาสตร์ และภาพเขียนสีสมัยอยุธยาที่เขียนเป็นภาพเรื่องพุทธประวัติและเรื่องราวในพุทธศาสนาและภาพประกอบพิธีกีรรม แบ่งออกได้เป็น 10 กลุ่ม

อ่านเพิ่มเติม

บ้านวังด้วน

บ้านวังด้วน ม.1 ตำบลห้วยทราย อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 

 

อ่านเพิ่มเติม

เมืองสรรคบุรี

ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.สิงห์บุรี เป็นเมืองโบราณที่มีประวัติการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ช่วยต้นยุคประวัติศาสตร์หรือสมัยทวารวดีเป็นต้นมา โบราณสถานสำคัญในเมืองสรรคบุรี ได้แก่ วัดมหาธาตุ วัดสองพี่น้อง วัดพระแก้ว วัดโตนดหลาย วัดท่าเสา(ร้าง) วัดพระยาแพรก วัดจันทร์ วัดสนามชัย(ร้าง)

อ่านเพิ่มเติม

ป้อมวิชัยประสิทธิ์

ป้อมวิชัยประสิทธิ์หรือป้อมวิไชยเยนทร์ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ปากคลองบางกอกใหญ่ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ เป็นป้อมปราการที่มีความสำคัญมากแห่งหนึ่งมาตั้งแต่สมัยอยุธยา มีประวัติความเป็นมาเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันยังคงมีการใช้เป็นที่ยิงสลุตในพระราชพิธีสำคัญต่าง ๆ และมีการติดตั้งเสาธงบริเวณทางเข้าป้อมเพื่อชักธงราชนาวีและธงผู้บัญชาการทหารเรือไทย

อ่านเพิ่มเติม

ปราสาททองบ้านแสรออ

ตั้งอยู่ภายในวัดปราสาททอง บ้านแสรออ ต.ปราสาททอง อ.เขวาสินรินทร์ จ.สุรินทร์ ลักษณะเป็นปราสาทขอมองค์เดียว จากรูปแบบศิลปกรรมและอายุสมัย สันนิษฐานว่าสร้างโดยชาวเขมรอพยพในสมัยอยุธยาตอนปลาย หรือสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

อ่านเพิ่มเติม

กระทรวงพาณิชย์ (เดิม)

พื้นที่กระทรวงพาณิชย์เดิม ปัจจุบันคือสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ มิวเซียมสยาม ตั้งอยู่ริมถนนสนามไชย บริเวณสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสนามไชย เขตพระนคร กรุงเทพฯ เดิมเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ทั้งป้อมวไชยเชนทร์ในสมัยอยุธยา วังที่ประทับของเจ้านายสมัยรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 5 และกระทรวงเศรษฐการหรือกระทรวงพาณิชย์ในปัจจุบัน หลักฐานทางโบราณคดีที่ขุดค้นพบ ล้วนแต่สื่อเรื่องราวและประวัติของสถานที่อย่างชัดเจน

อ่านเพิ่มเติม

วัดคีรีวิหาร

ตั้งอยู่ ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด จ.ตรัง วัดคีรีวิหารเป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของอำเภอห้วยยอด สร้างเมื่อ พ.ศ.2374 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เคยเสด็จมาสำรวจทรงพบพระพิมพ์ดินดิบจำนวนมาก อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 และบริเวณใต้เพิงผายังพบพระพุทธรูปสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์

อ่านเพิ่มเติม

ภูเขาน้อย

ตั้งอยู่ ต.หัวเขา อ.สิงหนคร จ.สงขลา กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนภูเขาน้อยทั้งลูกเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ บนยอดภูเขาน้อย ปรากฏซากโบราณสถาน "พระเจดีย์เขาน้อย" ศาสนสถานในศาสนาพุทธ ที่สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 13-15 ในสมัยศรีวิชัย และมีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งในสมัยอยุธยา 

อ่านเพิ่มเติม

วัดถ้ำพระพุทธ

ต.หนองบัว อ.รัษฎา จ.ตรัง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2374 โดยพ่อท่านฉางหลวง สร้างขึ้นเพราะบนภูเข้าหน้าถ้ำมีพระพุทธรูปปางไสยาสน์องค์ใหญ่อยู่แล้ว จึงให้นามว่า “วัดถ้ำพระพุทธ” นอกจากนั้นยังมีพระพุทธรูปปูนปั้นบริเวณเพิงผาหลายองค์ ศิลปะพื้นถิ่นภาคใต้ บางองค์ทรงเครื่องแบบมโนราห์

อ่านเพิ่มเติม

ภูเขาชุมทอง

ตั้งอยู่ที่ ต.น้ำผุด อ.เมืองตรัง จ.ตรัง เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางสีหไสยาสน์ มีเป็นเอกกลักษณ์คือ สวมเทริดมโนราห์ นับเป็นการผสมผสานระหว่างศรัทธาในพระพุทธศาสนากับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น นอกจากนี้ยังพบโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ภายในถ้ำภูเขาทอง 

อ่านเพิ่มเติม

เขาปินะ

ตั้งอยู่ ต.นาวง อ.ห้วยยอด จ.ตรัง มีถ้ำขนาดใหญ่น้อยหลายถ้ำในเขาปินะ แบ่งได้เป็น 6 ระดับ โดยปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เช่น หม้อสามขา ขวานหันขัด และยังพบหลักฐานที่เกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ทั้งการเสด็จฯ เยือนของรัชกาลที่ 6 และ รัชกาลที่ 7 รวมถึงหลักฐานต่าง ๆ ของขุนไกร ผู้ปฏิสังขรณ์สถานที่แห่งนี้ 

อ่านเพิ่มเติม

ภูเขาวัดหน้าถ้ำ

ต.หน้าถ้ำ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญ ได้แก่ พระพุทธไสยาสน์วัดถ้ำ หรือ “พ่อท่านบรรทม” รูปปั้นยักษ์ขนาดใหญ่เรียกว่า “พ่อท่านเจ้าเขา” พระพิมพ์ดินดิบ สถูปดินดิบ พระพุทธรูปศิลา และจารึกพระปรมาภิไธยย่อ “ปปร” และพิพิธภัณฑ์ศรีวิชัย หรือหอวัฒนธรรมศรีวิชัย (วัดคูหาภิมุข) 

อ่านเพิ่มเติม

ที่หล่อปืนใหญ่นางพญาตานีและเตาหลอม

ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม (ปัตตานี-นราธิวาส) ต.ตันหยงลุโละ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี  พบร่องรอยหลักฐานเกี่ยวกับกิจกรรมการหล่อปืนของเมืองปัตตานีรวมถึงปืนนางพญาตานี ตรงกับสมัยอยุธยา

อ่านเพิ่มเติม

ประตูเมืองปัตตานีเก่า

ตั้งอยู่ ต.ตันหยงลุโละ อ.เมืองปัตตานี เดิมปรากฏไม้ประตูจมลึกอยู่ในดิน สภาพผุพัง สันนิษฐานว่าเป็นส่วนหนึ่งของประตูเมืองปัตตานี ในสมัยอยุธยา ปัจจุบันสภาพพื้นที่เป็นป่ารกร้าง

อ่านเพิ่มเติม

ศาลเสื้อเมือง

เลขที่ 20 ม.2 ถ.สายหัวคู-ขุนประทิง ต.ตากแดด อ.เมืองชุมพร บริเวณที่ตั้งของศาลเสื้อเมืองนี้คือ “วัดเสื้อเมือง” ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ สภาพเดิมของศาลเสื้อเมืองเป็นศาลาไม้มุงสังกะสี ต่อมาบูรณะใหม่เป็นอาคารคอนกรีต ภายในศาลตั้งแท่นบูชามีแท่งหินทรายและหลักไม้เรียกว่า “พระทรงเมือง”

อ่านเพิ่มเติม

วัดพระขวาง

วัดพระขวาง ม.6 ต.ขุนกระทิง อ.เมืองชุมพร ตั้งอยู่ริมคลองชุมพร ในเขตเมืองเก่าของชุมพร หลักฐานทางโบราณคดีที่สำคัญของวัดพระขวางคือ "พระขวาง" ศิลปะสมัยอยุธยา ซึ่งมีตำนานผูกพันอยู่กับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

อ่านเพิ่มเติม