แหล่งโบราณคดี


แสดง 1 ถึง 14 จาก 14 ผลลัพธ์

ชุมชนโบราณดงเมืองเตย

ม.1 บ้านสงเปือย ต.สงเปือย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

อ่านเพิ่มเติม

เมืองศรีสัชนาลัย

ต.ศรีสัชนาลัย ต.สารจิตร ต.หนองอ้อ ต.ท่าชัย อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย

อ่านเพิ่มเติม

เมืองกำแพงเพชร

ต.ในเมือง และ ต.หนองปลิง อ.เมืองกำแพงเพชร จ.กำแพงเพชร

อ่านเพิ่มเติม

เมืองงิ้ว

บ้านชาด ต.เค็งใหญ่ อ.หัวตะสาน จ.อำนาจเจริญ

อ่านเพิ่มเติม

ดงแม่นางเมือง

ต.เจริญผล, ต.ตาสังข์ อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงแสน

ต.เวียง (เทศบาลตำบลเวียงเชียงแสน) อ.เชียงแสน เมืองเชียงแสนเป็นเมืองโบราณสำคัญสมัยล้านนา ภายในมีโบราณสถานและโบราณวัตถุที่สำคัญมากมาย ซึ่งมีรูปแบบศิลปะที่แสดงให้เห็นถึงรูปแบบของศิลปะล้านนาที่รับอิทธิพลมาจากส่วนกลางคือ เมืองเชียงใหม่ และส่วนหนึ่งได้มีพัฒนาการและปรับปรุงจนเกิดเป็นรูปแบบท้องถิ่นของตนเอง

อ่านเพิ่มเติม

ป้อม คูเมือง กำแพงเมืองเชียงใหม่

เทศบาลนครเชียงใหม่ อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เมืองเชียงใหม่

ต.พระสิงห์ ต.ศรีภูมิ (เทศบาลนครเชียงใหม่) อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่

อ่านเพิ่มเติม

เวียงกุมกาม

เมืองโบราณสำคัญของล้านนา ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ต.ท่าวังตาล อ.สารภี จ.เชียงใหม่ เวียงกุมกามน่าจะถูกสร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 แต่ก่อนหน้านั้นก็เป็นที่ตั้งของชุมชนขนาดเล็กในวัฒนธรรมหริภุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ 18 กระทั่งถูกทิ้งร้างไปเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23

อ่านเพิ่มเติม

โนนเมือง

ม.4 บ้านโนนเมือง ต.ชุมแพ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

อ่านเพิ่มเติม

เมืองพระรถ, เมืองศรีมโหสถ

ต.โคกปีป อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี

อ่านเพิ่มเติม

เมืองสรรคบุรี

ต.แพรกศรีราชา อ.สรรคบุรี จ.สิงห์บุรี เป็นเมืองโบราณที่มีประวัติการตั้งถิ่นฐานมาตั้งแต่ช่วยต้นยุคประวัติศาสตร์หรือสมัยทวารวดีเป็นต้นมา โบราณสถานสำคัญในเมืองสรรคบุรี ได้แก่ วัดมหาธาตุ วัดสองพี่น้อง วัดพระแก้ว วัดโตนดหลาย วัดท่าเสา(ร้าง) วัดพระยาแพรก วัดจันทร์ วัดสนามชัย(ร้าง)

อ่านเพิ่มเติม

คลองคูเมืองเดิมธนบุรี (คลองบ้านขมิ้น)

เป็นคลองคูเมืองเดิมสมัยธนบุรี ตั้งอยู่ถนนอิรสภาพ บางกอกน้อย กรุงเทพฯ ปัจจุบันคลองมีสภาพตื้นเขิน หลังจากมีการขุดค้นได้มีการปูพื้นเพื่อแสดงสัญลักษณ์ของกำแพงเมืองกรุงธนบุรีเดิม บริเวณหน้าปากซอยอิสรภาพ 44

อ่านเพิ่มเติม

นาตาสุข

ต.คลองน้ำใส อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว เป็นแหล่งอยู่อาศัยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15-18 หลักฐานสำคัญได้แก่ เครื่องถ้วยเขมรจากแหล่งเตาบุรีรัมย์และเตาพนมกุเลน เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ซ่งภาคใต้ แท่นหินบด หินบด คันฉ่องสำริด ขันสำริด กำไลสำริด ลูกกระพรวนสำริด ชิ้นส่วนสำริด ห่วงสำริด ก้อนตะกั่ว และชิ้นส่วนกระดิ่งสำริด เป็นต้น 

อ่านเพิ่มเติม