ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ศาสตราจารย์แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผลงานทางวิชาการมากมาย อาทิ กรณีศึกษาการจัดการศึกษาด้านศิลปวิทยาศาสตร์ (Liberal Arts Education) ของประเทศสหรัฐอเมริกา, ปอกเปลือกประชาธิปไตยในอเมริกา, ความคิดการเมืองไพร่กระฎุมพีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์, หนังสือแปล การก่อรูปของเศรษฐกิจก่อนระบบทุนนิยม โดยคาร์ล มาร์กซ

1929 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • 2553-2559 : หัวหน้าโครงการอาเซียนศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์
  • 2550-2553 : คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2547-2550 : ผู้อำนวยการ โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
  • 2547 : Visiting Associate Professor, Asian Research Institute, National University of Singapore.
  • 2545 : Visiting Professor, Southeast Asian Studies Program, UCLA. USA.
  • พค. 2540-เมษ. 2541 : Visiting Research Scholar, Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University, Japan
  • 2537 : Visiting Research Fellow, Asian and Pacific Research Division, Australian National University.
  • 2536-2550 : รองศาสตราจารย์, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2537-2538 : รองอธิการบดี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2536-2540 : บรรณาธิการ วารสารธรรมศาสตร์
  • 2530-2536 : อาจารย์ประจำ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2528-2530 : Instructor, State University of New York at Binghamton, USA.
  • 2518-2519 : อาจารย์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2516-2518 : ผู้ช่วยบรรณาธิการ นิตยสารสังคมศาสตร์ปริทัศน์

ทุนและรางวัล

  • 2556 - 2559 : เมธีวิจัยอาวุโส สายมนุษยศาสตร์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • 2553 : ธรรมศาสตราภิชาน วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2552 : งานวิจัยดีเด่นสายมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2552 : กีรตยาจารย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2551 : ศาสตราจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ธรรมศาสตร์
  • 2529-2533 : Harvard-Yenching Dissertation Scholarship
  • 2527-2529 : Teaching Assistantship, SUNY-Binghamton
  • 2514-2516 : Scholarship Award from Institute of International Education (IIE) USA.
ประวัติการศึกษา
  • 1991 : Ph.D (U.S. History) Binghamton University, New York, USA.
    • Dissertation: James D.B.De Bow and the Political Economy of the Old South
  • 1984 : M.A. Binghamton University
    • Major: U.S. History
    • Minor: Sociology (Development Studies), East Asian History
  • 1973 : B.A. University of Rochester
    • Major: Political Science
    • Minor: History
  • 1968-71 : Thammasat University, Faculty of Political Science
ตำแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลthanet3@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจวรรณกรรม, สิทธิมนุษยชน, การเมือง, ประวัติศาสตร์
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

หนังสือ

  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2563). ความเป็นมาของความคิดทางการเมืองในสยามไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. แปล. (2561). การก่อรูปของระบบเศรษฐกิจก่อนทุนนิยม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ, 192 หน้า.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. บก. (2560). ความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่: ความเปลี่ยนแปลงและย้อนแย้งของไทย. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 246 หน้า.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2556). กำเนิดและความเป็นมาของการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา, 199 หน้า
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2556). แปดทศวรรษสยามปฏิวัติ: บทวิเคราะห์การเมืองและประชาธิปไตยสยามไทยในระยะเปลี่ยนผ่าน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ, 148 หน้า
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2556). กบฏวรรณกรรม: บทวิเคราะห์ประวัติศาสตร์และการเมืองในวรรณกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมมติ, 359 หน้า
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2550). ความคิดทางการเมืองของคนอเมริกันผิวดำ: จากทาสสู่เสรีชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2007). Rebellion in Southern Thailand: Contending Histories. East-West Center Washington Policy Studies 35, 66 pages.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2549). ความเป็นมาของทฤษฎีแบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2549). กำเนิดและความเป็นมาของสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คบไฟ
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2549). ความคิดการเมืองไพร่กระฎุมพีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2547). บาดแผลอเมริกา สงครามกับเสรีภาพในประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2539). วรรณกรรมในชีวิต:ชีวิตในวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ชนนิยม.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2535). ปอกเปลือกประชาธิปไตยในอเมริกา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ศยาม.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, วิทยากร เชียงกูล, วิสา คัญทัพ. (2517). ขบวนการนักศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พระจันทร์เสี้ยว, พิมพ์ซ้ำ 2535.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. แปล. (2527). การก่อรูปของเศรษฐกิจก่อนระบบทุนนิยม โดยคาร์ล มาร์กซ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, เอกสารวิชาการ, 96 หน้า.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2521). สังคมกับการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พีพี.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ บก.แปล. (2517). จีน อินเดีย: รากฐานการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง โดยแบริงตัน มัวร์ จูเนียร์ กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์ เคล็ดไทย.


บทความในวารสาร

  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2564).“วิพากษ์ลัทธิมาร์กซ์ใน โฉมหน้าของศักดินาไทยในปัจจุบัน ของจิตร ภูมิศักดิ์”.ใน ฟ้าเดียวกัน ๘๐ ปีนิธิ เอียวศรีวงศ์ ปัญญาชนแห่งสยามยุคเปลี่ยนผัน ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน. หน้า 155-198.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2562). “บทความปริทัศน์ ความสาเร็จและล้มเหลวของประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย ธงชัย วินิจจะกูล เมื่อสยามพลิกผัน” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2561). “วิจารณ์บทความปวงชน อุนจะนา “กษัตริย์กระฎุมพี: มรดกทางประวัติศาสตร์จากรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี” ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 203-219.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2560). “ความคิดทางการเมืองของเสน่ห์ จามริก” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 9 (กรกฎาคม), หน้า 154-69.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2530). "อ่านหนังสือคลาสสิคทำไม". ถนนหนังสือ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2530), หน้า 45-49.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2530). "In the Mirror: วรรณกรรมและการเมืองไทยในยุคอเมริกัน". ถนนหนังสือ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 (ธันวาคม 2530), หน้า 76-82.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2531). "เสรีภาพและทรัพย์สินส่วนตัว: บทความปริทัศน์". วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 (2531), หน้า 237-252.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2531). "คนครุ่นคิดแต่พระเจ้าหัวเราะ" ใน สโมสรถนนหนังสือ 1 (กรกฎาคม 2531), หน้า 147-159.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2530). "อ่านหนังสือคลาสสิคทำไม". ถนนหนังสือ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2530), หน้า 45-49.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2530). "In the Mirror: วรรณกรรมและการเมืองไทยในยุคอเมริกัน". ถนนหนังสือ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 (ธันวาคม 2530), หน้า 76-82.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2530). "ทำไมพระเจ้าหลุยส์ที่ 13 ไม่ทรงสั่งน้ำมูก: ปัญหาของประวัติศาสตร์สังคม. วารสารมนุษยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), ปีที่ 14 ฉบับที่ 1-2 (2530), หน้า 120-126.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2529). "วันมาร์ติน ลูเธอร์ คิง:อีกก้าวหนึ่งของการต่อสู้เพื่อสิทธิและความเสมอภาค ของอเมริกันนิโกร". บานไม่รู้โรย ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (มี.ค. 2529), หน้า 39-44.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2527). "กำเนิดและพัฒนาการของระบบทาสในอเมริกาเหนือ". ธรรมศาสตร์ 50 ปี (มิถุนายน 2527), หน้า 723-739.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2519). “ปรัชญาประวัติศาสตร์ของลัทธิมาร์กซ”. วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2519)
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2518). "ปัญญาชนกับการปฏิวัติรัสเซียในศตวรรษที่ 19". ปุถุชน ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม 2518), หน้า 70-84.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2518). "The United States and the Coming of the Coup of 1947 in Siam". Journal of the Siam Society, V. 75 No.1 (January 1987), pp. 187-214.


บทความในหนังสือ

  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2564). “มองมานุษยวิทยาการเมืองผ่านความรู้ไทยคดีศึกษา” ใน โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, อาทิตย์ เคนมี บก. สืบทฤษฎี สาววิธีคิด: การเดินทางของมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. หน้า 77-82.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2565). “การก่อรูปและอิทธิพลของความคิดทางการเมืองอนุรักษ์นิยมไทยในยุคโลกาภิวัตน์: จากธรรมราชาสู่ “พระมหากษัตริย์มหาชน” ใน ชานันท์ ยอดหงส์ บก. The Old Man and SEA ชายชรากับอุษาคเนย์ 80 ปีการโต้คลื่นลมชีวิต(ประวัติศาสตร์และความคิด)ของชาญวิทย์ เกษตรศิริ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 368-404.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2562). “ปัญหาความเกี่ยวพันที่กดทับระหว่างประวัติศาสตร์กับชาติ” ใน สุภางค์ จันทวานิชกับคณะ บก. ประเทศไทยในความคิดของเมธีวิจัยอาวุโส (เล่ม ๒). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 328 หน้า. หน้า 38-67.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2559). “กำเนิดและอวสานของเศรษฐศาสตร์การเมือง: จากสหรัฐฯ ถึงสยามไทย” ใน ปกป้อง จันวิทย์ บก. ปาฐกถา 100 ปีป๋วย อึ๊งภากรณ์. กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (1988). "Slavery and Modernity: Freedom in the Making of Modern Siam", in David Kelly and Anthony Reid eds., Asian Freedoms: Journeys of an Idea in the Context of East and Southeast Asia. London: Cambridge University Press.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2539). “สิทธิคนไทยในรัฐไทย” ใน ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ บก. จินตนาการสู่ปี 2000: นวกรรมเชิงกระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา. (กรุงเทพฯ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย), หน้า 181-233.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2536). "สัจจธรรมในคำสารภาพของตอลสตอย" บทนำใน คำสารภาพ โดยตอลสตอย สมบูรณ์ ศุภศิลป์แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์สมิต พิมพ์ครั้งที่ 2, หน้า 17-32.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2533). "ระบบทาสและอำนาจการเมืองในประวัติศาสตร์สังคมไทย" ใน สุนทรี อาสะไวย์ ม.ล.วัลย์วิภา บุรุษรัตนพันธ์ กาญจนี ละอองศรี บก. ไทยคดีศึกษา: รวมบทความทางวิชาการเพื่อแสดงมุทิตาจิต อาจารย์ พันเอกหญิง คุณนิออน สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์อัมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จำกัด), หน้า 83-102.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2527). "ปรัชญาประวัติศาสตร์ของลัทธิมาร์กซ" ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุชาติ สวัสดิ์ศรี บก. ปรัชญาประวัติศาสตร์ กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์ไทยวัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 3, หน้า 160-180.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2519). "ตอลสตอยกับการคลี่คลายของประวัติศาสตร์รุสเซีย" ใน ปรัชญาประวัติ ศาสตร์ในสงครามและสันติภาพ ลีโอ ตอลสตอย เขียน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แปล กรุงเทพฯ, สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น, หน้า 11-37.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2517). "การปฏิวัติวัฒนธรรมของจีน" ใน การปฏิวัติของจีน โดยกองบรรณาธิการสังคมศาสตร์ปริทัศน์ กรุงเทพฯ,โครงการหนังสือเล่ม สังคมศาสตร์ปริทัศน์, หน้า 76-117.
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2517). "เมาเซตุงนักปฏิวัตินิรันดร" ใน สุชาติ สวัสดิ์ศรี บก. วีรชนอาเซีย. กรุงเทพฯ, โครงการหนังสือเล่ม สังคมศาสตร์ปริทัศน์, หน้า 164-220.


งานวิจัย

  • “ความ(ไม่)เป็นสมัยใหม่ ความเปลี่ยนแปลงและย้อนแย้งของไทย”. โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2556-2559.
  • “โครงสร้างอำนาจที่ไม่เท่าเทียมกันในสังคมไทย” ชุดวิจัยภายใต้คณะอนุกรรมการวิจัย คณะกรรมการเพื่อการปรองดองและสมานฉันท์แห่งชาติ (คอป.) เม.ย 2555.
  • “รายงานการศึกษาวิจัยกรณีศึกษาการจัดการเรียนการสอนด้านศิลปศาสตร์ของประเทศสหรัฐฯ ที่มีการปฏิบัติดีเด่น (best practice)” สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ มีนาคม 2553
  • กรณีศึกษาการจัดการศึกษาด้านศิลปวิทยาศาสตร์ (Liberal Arts Education) ของประเทศสหรัฐอเมริกา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ชุดรายงานการวิจัยเล่มที่ 2 2552. 75 หน้า
  • ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (2537). วิธีวิทยาในการวิจัยประวัติศาสตร์ของชาติ: ข้อพิจารณาสำหรับการ พัฒนาวิเทศคดีศึกษาในประเทศไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ อนาคตของ วิเทศคดีศึกษาในประเทศไทย: ศักยภาพและทิศทาง. วันที่ 10-11 พฤศจิกายน 2537 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)