บุษบงก์ วิเศษพลชัย

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ จบการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตมานุษยวิทยา เอกมานุษยวิทยาการแพทย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เชี่ยวชาญและสนใจในประเด็น มานุษยวิทยาการแพทย์

556 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์การทำงานและความเชี่ยวชาญ

  • ต.ค. 2564 - ปัจจุบัน : ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
  • 2553 - ปัจจุบัน : ออกแบบกระบวนการ พัฒนาหลักสูตรเป็นวิทยากรหลักเพื่อพัฒนานักวิจัยที่ทำงานด้านสุขภาพ ด้านการพัฒนาศักยภาพในมิติด้านสังคมและวัฒนธรรม และกลุ่มเปราะบาง
  • 2553 - ปัจจุบัน : ออกแบบกระบวนการ พัฒนาหลักสูตรและเป็นวิทยากรหลักเพื่อพัฒนาระบบงานที่พัฒนาศักยภาพคนทำงานทั้งมิติการทำงานและจิตวิญญาณ อาทิ หลักสูตรงานบันดาลใจ การเขียนเรื่องเล่า การทำงานอย่างสร้างสรรค์
  • 2553 - ปัจจุบัน : ผลิตหนังสือ คู่มือ และเครื่องมือ เพื่อใช้ประกอบในหลักสูตรการอบรม เพื่อเผยแพร่แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรการอบรมและเพื่อใช้เป็นแหล่งในการเรียนรู้
  • 2553 - ปัจจุบัน : จัดเวทีวิชาการ/เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในกลุ่มย่อยและเวทีสาธารณะ
  • 2553 - ปัจจุบัน : ออกแบบการประเมินผลหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นเพื่อวัดผลลัพธ์ ความคุ้มค่าคุ้มทุน และเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตรต่อไป อาทิ การประเมินหลักสูตรสัมฤทธิศาสตร์
ประวัติการศึกษา
  • 2559 : ปริญญาดุษฎีบัณฑิตมานุษยวิทยา เอกมานุษยวิทยาการแพทย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2556 : Certificate of six-month training (1 Feb – 31 July 2014) in “Medical Anthropology, Social Medicine, and Global Health” form Harvard Medical School, Harvard University. Supported by Harvard Medical School and the Royal Golden Jubilee Program of the Thailand Research Fund.
  • 2550 : พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต (เวชปฏิบัติชุมชน) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • 2544 : สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 2533 : สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 2533 : พยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสวรรค์ประชารักษ์
ตำแหน่งทางวิชาการผู้จัดการ
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสถาบันการเรียนรู้การสร้างเสริมสุขภาพ
อีเมลbussabongcat@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาการแพทย์
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • Chen, H., Levkoff, S., Chuengsatiansup, K., Sihapark, S., Hinton, L., GallagherThompson, D., Tongsiri, S., Wisetpholchai, B., Fritz, S., Lamont, A., Domlyn, A., Wandersman, A., & Marques, A. H. (2021). Implementation Science in Thailand: Design and Methods of a Geriatric Mental Health Cluster-Randomized Trial. Psychiatric Services, appi.ps.2020000. https://doi.org/10.1176/appi.ps.202000028
  • การพัฒนาคุณภาพกำลังคนเพื่อสนับสนุนการนำนโยบายกัญชาทางการแพทย์สู่การปฏิบัติ. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29 (3) มิถุนายน 2563.
  • การพัฒนารูปแบบองค์กรสร้างสุขของโรงพยาบาลชุมชน ในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29 (1) มกราคม - กุมภาพันธ์ 2563.
  • หนังสือ "จดหมายเหตุ COVID-19 รวมพลัง ร่วมใจ ฝ่าภัยวิกฤ๖ (ระยะที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราค - 30 มิถุนายน 2563) (Ebook)
  • หนังสือจากโครงการ "การพัฒนาบุคลากรเพื่อเป็นนักสร้างสุข (Chief Employee Experience Officer: CEEO)" 2560
    1. หนังสือ "คู่มือนักสร้างสุข" (Ebook)
    2. หนังสือ "ถอดบทเรียนองค์กรสร้างสุข 12 เขตสุขภาพ" (Ebook)
  • หนังสือและเครื่องมือจากโครงการ "การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่สร้างเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณในที่ทำงาน"
    1. หนังสือ "เรื่องเล่างานบันดาลใจ"
    2. หนังสือ "คนทำงานบันดาลใจ"
    3. หนังสือ "มองงานมองชีวิต"
    4. หนังสือ "รวมชุดนิทรรศการงานบันดาลใจ"
    5. หนังสือ "ทำเล่นให้เป็นงาน: 101 เกมนันทนาการ บันดาลใจ"
    6. หนังสือ "ถอดบทเรียนองค์กรบันดาลใจ"
    7. การ์ดงานบันดาลใจ
    8. ไพ่ความรู้สึก-ความต้องการ
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)