ภาคภูมิ สุขเจริญ

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เชี่ยวชาญในประเด็น คติชนวิทยา, สุโขทัยศึกษา, การบูรณาการคติชนวิทยากับการท่องเที่ยว

218 views


ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต คติชนวิทยา มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลpakpooms@nu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจคติชนวิทยา, สุโขทัยศึกษา, การบูรณาการคติชนวิทยากับการท่องเที่ยว
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • ธีรภัทร คำทิ้ง และภาคภูมิ สุขเจริญ. (2564). ประเพณีบุญหลวงและการละเล่นผีตาโขน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย : บทบาทหน้าที่ในสถานะประเพณีประดิษฐ์ภายใต้สถานการณ์โควิด-19. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564
  • ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2564). สถานภาพและบทบาทของประเพณีท้องถิ่นจังหวัดพิษณุโลก. โขง-สาละวิน: วารสารอารยธรรมศึกษา. ปีที่ 12, ฉบับที่ 2: กรกฎาคม-ธันวาคม 2564.
  • ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2562). การปรากฏใหม่ภายใต้การรับรู้เดิมของวรรณกรรมไทยในบทเพลงไทยสากล. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 25, ฉบับพิเศษที่ 4 : ตุลาคม-ธันวาคม 2562.
  • ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2560). แมว : หน้าที่เชิงสัญลักษณ์ที่ปรากฏในประเพณีชีวิตของคนไทย. ใน : การประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, กรุงเทพมหานคร. 1184-1192.
  • ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2559). การวิเคราะห์การละเล่นพื้นเมืองของเด็กอำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. ศรีวนาลัยวิจัย. ปีที่ 6, ฉบับพิเศษที่ 1/2559 : 60-69.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.arts.chula.ac.th/folklore/