พรรณวดี ศรีขาว

สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มีความเชี่ยวชาญและสนใจในประเด็นคติชนวิทยา, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, วรรณกรรมไทยและวรรณกรรมเด็กและเยาวชน

215 views


ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจภูมิปัญญาท้องถิ่น, คติชนวิทยา, วรรณกรรมไทย, วรรณกรรมเด็กและเยาวชน
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • พรรณวดี ศรีขาว. (2562). การดำรงอยู่ทางวัฒนธรรมของภูมิปัญญาผ้าย้อมคราม: กรณีศึกษากลุ่มทำผ้าย้อมคราม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(2) (กรกฎาคม – ธันวาคม 2562), น. 276-289.
  • ปกกสิณ ชาทิพฮด และพรรณวดี ศรีขาว. (2562). การฟื้นฟูภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านจากความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์ตำบลนาตาล อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัยวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, 1(2). (มกราคม – มิถุนายน 2562), น. 60-79.
  • พรรณวดี ศรีขาว. (2561). ผีปู่ตา : มเหสักข์กับพิธีกรรมของชาวผู้ไทกะตาก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 1(1). (มกราคม – มิถุนายน 2561), น. 45-75.
  • พรรณวดี ศรีขาว. (2555). ตุ๊กแก : ความเชื่อ. ใน สุกัญญา สุจฉายา (บรรณาธิการ), สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ฉบับเพิ่มเติม เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
  • พรรณวดี ศรีขาว. พร ภิรมย์, พระ. ใน สุกัญญา สุจฉายา (บรรณาธิการ), สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาค กลาง ฉบับเพิ่มเติม เล่ม 2, กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์, 2555.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.arts.chula.ac.th/folklore/