สุวิภา จำปาวัลย์

ดร.สุวิภา จำปาวัลย์ นักวิจัยชำนาญการพิเศษ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ สังกัด สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

308 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • 2564 - ปัจจุบัน : หัวหน้าศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2548 - ปัจจุบัน : นักวิจัย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2541 - 2547 : อาจารย์ประจำ คณะศิลปะศาสตร์ วิทยาลัยโยนก ลำปาง

ประสบการณ์การทำงานอื่น ๆ

  • อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • อาจารย์พิเศษ สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
  • วิทยากรบรรยายในหลักสูตรปริญญาโท สาขาการจัดการศิลปวัฒนธรรม สาขาล้านนาศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หัวหน้าโครงการวิจัยและบริการวิชาการ

  • 2564 : "มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ" U2T (โครงการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลเมืองคอง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่)
  • 2563 : โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำแผนแม่บทการขับเคลื่อนเมืองน่านสู่การเป็นเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ขององค์การยูเนสโก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
  • 2563-2564 : นักวิจัยร่วมกับคณะเภสัชศาสตร์ โครงการสำรวจ ทำสำเนาดิจิทัล และปริวรรตเอกสารโบราณตำรับยา และตำราการแพทย์แผนไทยในจังหวัดลำพูน แหล่งทุน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

งานวิจัยที่ได้รับรางวัลในประเทศ

  • ธันยา พรหมบุรมย์, สุวิภา จำปาวัลย์. (2556). “วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศในกระบวนการทำงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลเชิงดอย ภายใต้การดำเนินงานของเทศบาลตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่.” รางวัล ผลงานวิจัยดีเด่นด้านสตรีและครอบครัว ประจำปี 2556 จาก สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ประวัติการศึกษา
  • 2558 : ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต ศศ.ด. (ศิลปวัฒนธรรมวิจัย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2541 : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ศศ.ม. (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2537 : ศิลปบัณฑิต ศป.บ. (ศิลปะไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลsuwipa@hotmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจการท่องเที่ยว, ชาติพันธุ์ไทยในล้านนา, ศิลปวัฒนธรรม, พิธีกรรมและความเชื่อ, พุทธศิลป์
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

  • สุวิภา จำปาวัลย์. (2562). การปรับตัวในมิติความเชื่อและพิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ลัวะในประเทศไทย และลาว. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • สุวิภา จำปาวัลย์ และ เกริก อัครชิโนเรศ. (2558) ตำนานในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23-25. เชียงใหม่: สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • สุวิภา จำปาวัลย์ และ เกริก อัครชิโนเรศ. (2557). คนกับคติจักรวาลล้านนา. เชียงใหม่: สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • นเรนทร์ ปัญญาภู และ สุวิภา จำปาวัลย์. (2557). ความสำเร็จในกระบวนการจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นจังหวัดลำพูน. กรุงเทพๆ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาซน)
  • ศันสนีย์ กระจ่างโฉม และ สุวิภา จำปาวัลย์. (2557). องค์ความรู้ด้านวิถีการดำเนินชีวิตของผู้สูงวัยในกลุ่มซาติพันธุ์ ไทยวน ไทลื้อ ไทยอง และไทใหญ่ภายใต้วัฒนธรรมล้านนา. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.
  • สุวิภา จำปาวัลย์. (2556). การพัฒนาองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองลำพูน โดยการมีส่วนร่วมของชุมซนเทศบาลเมืองลำพูน. เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (TUHPP)
  • สุวิภา จำปาวัลย์. (2554). การประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้ด้านศิลปกรรมในท้องถิ่นล้านนาเพื่อสร้างสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
  • ธันยา พรหมบุรมย์ และ สุวิภา จำปาวัลย์. (2554). การจัดการที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลงานดีเด่นด้านสตรีและครอบครัว : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเทศบาลตำบลเชิงดอย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี (TUHPP)
  • สุวิภา จำปาวัลย์. (2553). การศึกษาพุทธสัญลักษณ์ล้านนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

บทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ฐานข้อมูล ISI

  • Suwipa Champawan and Krirk Akarachinores. “Political Issue Hidden in the Chiang Mai Chronicle in the 18th Century.” ASR: CMU Journal of Social Sciences and Humanities. 4,1 (January-June , 2017): 71-82.

บทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ TCI1

  • สุวิภา จำปาวัลย์. (พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558). “พระธาตุในสังคมล้านนา: พัฒนาการและการปรับเปลี่ยน จากรัฐจารีตสู่โลกาภิวัตน์.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 34 ฉบับที่ 6, หน้า 164-177.
  • สุวิภา จำปาวัลย์ และ ธันยา พรหมบุรมย์. (มกราคม - เมษายน 2558). “แนวทางการพัฒนาศักยภาพและการบริหารจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีส่วนร่วมเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในตำบลบ้านเรือน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน.” วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1, หน้า 5-16
  • สุวิภา จำปาวัลย์. (กรกฎาคม – ธันวาคม 2558). “พระธาตุล้านนา: การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ ในสังคมโลกาภิวัตน์.” วารสารวิจิตรศิลป์. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, หน้า 106-137.
  • วิภา จำปาวัลย์ และ นเรนทร์ ปัญญาภู. (กรกฏาคม - ธันวาคม 2560). “การรับรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์ท้องถิ่น “พระนางจามเทวี” สู่แนวทางการพัฒนาในจังหวัดลำพูน.” วารสารวิจิตรศิลป์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2, หน้า 49-102.

บทความตีพิมพ์ในหนังสือ และวารสารวิชาการ

  • สุวิภา จำปาวัลย์. “บรรพชนคนลำพูน” ใน วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. คนหละปูน. (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2564), หน้า 6-42.
  • สุวิภา จำปาวัลย์. “ลำพูนเมืองประวัติศาสตร์” ใน วรเทวี (ณ ลำพูน) ชลวณิช. ลำพูนวันนี้. (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), 2563), หน้า 6-60.
  • สุวิภา จำปาวัลย์ และ นเรนทร์ ปัญญาภู. “3 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในจังหวัดลำพูน: ตัวอย่างแนวทางสู่ความสำเร็จ.” วารสารร่มพยอม ฉบับพิเศษ. สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม. 2559
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)