สุเนตร ชุติณทรานนท์

ผู้อำนวยการศูนย์พหุวัฒนธรรมศึกษาและนวัตกรรมทางสังคม สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้ทรงคุณวุฒิประจำหลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

154 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
ประวัติการทำงาน :
  • 2533 – 2534 รองผู้อำนวยการฝ่ายวิเทศสัมพันธ์
  • 2542 ผู้อำนวยการหน่วยวิชาไทยศึกษา คณะอักษรศาสตร์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันเอเชียศึกษา
  • 2549 - 2557 ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2557 – 2560 คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2557-2560
งานด้านบริหาร
  • ผู้อำนวยการชุดโครงการองค์รวมความรู้เพื่อจัดทำหนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย”
  • ผู้อำนวยการชุดโครงวิจัย เรื่อง “การประกอบสร้างประวัติศาสตร์สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน” ปีที่ 1-ปีที่ 4
  • หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องประวัติศาสตร์บาดแผลสยาม-ปาตานี : กรณีศึกษาเอ็นร้อยหวาย
  • ผู้อำนวยการชุดโครงการ “รังสรรค์สันติสุขให้แผ่นดิน” ปีที่ 2
  • หัวหน้าโครงการ การสร้างภาพลักษณ์ผ่านสื่อบันเทิงกับก้าวย่างสู่ประเทศไทย ๔.๐ : ศึกษากรณีซีรีย์โทรทัศน์เกาหลีใต้
  • ผู้อำนวยการ โครงการวิจัยหนังสือเฉลิมพระเกียรติ “สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย” (ฉบับปรับปรุงเนื้อหา)
  • ผู้อำนวยการ โครงการวิจัยเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ “ลับลี้ไม่ลี้ลับ: ปลายแผ่นดินด้ามขวานของไทย”
  • หัวหน้าโครงการ ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมละครโทรทัศน์เพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรมไทย 4.0” ประกอบไปด้วย 5 เรื่อง ได้แก่ ตามแนวนโยบาย 5F ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม อันได้แก่ 1. อาหาร (Food) 2. ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film) 3. ผ้าไทยและการออกแบบแฟชั่น (Fashion) 4. มวยไทย (Fighting) และ 5. การอนุรักษ์และขับเคลื่อนเทศกาลประเพณีสู่ระดับโลก (Festival)
  • หัวหน้าชุดโครงการ “ร้อยพลัง – รังสรรค์วิถี : ก้าวนี้และก้าวต่อไปบนด้ามขวาน” (2562-2563) (กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์)
  • หัวหน้าโครงการ ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “นวัตกรรมละครโทรทัศน์เพื่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมวัฒนธรรมไทย 4.0” ปีที่ 2
เครื่องราชอิสริยาภรณ์

พ.ศ. 2556 – Order of the White Elephant - 1st Class (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)

พ.ศ. 2553 – Order of the Crown of Thailand - 1st Class (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)

พ.ศ. 2563 – Order of the Direkgunabhorn 4th class (Thailand) ribbon.svg เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)

พ.ศ. 2550 – Chakrabarti Mala Medal (Thailand) ribbon.svg เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)

ประวัติการศึกษา

Ph.D. (History) Cornell University USA

M.A. (History) Cornell University USA

ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ตำแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจประวัติศาสตร์, ประวัติศาสตร์พม่า, พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
ผลงานวิจัยและงานวิชาการที่สำคัญ
  • โครงการวิจัยประวัติศาสตร์บอกเล่า “บันทึกเรื่องราว ‘ในหลวงและพระราชินี’ ในความทรงจำของล่ามภาษามลายู”
  • โครงการวิจัยเพื่อถอดบทเรียนการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากชุมชนสู่ชุมชน
  • โครงการวิจัยการศึกษาความสุขของการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม ผ่านวรรณกรรมเยาวชน
  • โครงการจัดทำภาพยนตร์สารคดีสั้น เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย” (ปัจจุบันใช้ชื่อว่า “รายอกีตอ : ราชันผู้ยิ่งใหญ่ในใจไทยมุสลิม”)
  • โครงการจัดแปลและพิมพ์หนังสือเฉลิมพระเกียรติ เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย” ฉบับภาษาอาหรับ
  • ไทยในการรับรู้และความเข้าใจของประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนเพื่อสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (2552)
หนังสือและบทความ
  • 2563 หนังสือ “จากศึกบางกุ้งถึงศึกอะแซหวุ่นกี้ เผยโฉมยุทธศาสตร์พม่ารบไทยยุคธนบุรี” (2562) (ได้รับรางวัลหนังสือดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2563 (รางวัลชมเชย) ประเภทหนังสือสารคดี กลุ่มหนังสือสำหรับเด็กวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี)
  • 2562 หนังสือ “สถาบันพระมหากษัตริย์กับมุสลิมในแผ่นดินไทย” ฉบับปรับปรุงเนื้อหา
  • 2562 หนังสือ “คาชูระโฮ สวรรค์บนปืนพิภพ ”
  • 2531 Sunait Chutintaranond, “Cakravartin : Ideology, Peason and Manifestation of Siamese and Burmese Kings in Traditional Warfare (1538-1854) Cross Roads : An Interdisciplinary, Journal of Southeast Asian Studies (Special Burma Studies Issue) 4:1 (1988), pp. 45-56.
  • Sunait Chutintaranond, “Mandala, Segmentary State and Polities of Centralization in Medieval Ayudhya” JSS 78:1 (1990), pp. 89-100.
  • สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐): ศึกษาจากพงศาวดารพม่าฉบับราชวงศ์คองบอง (พ.ศ. 2531)
  • พม่ารบไทย (พ.ศ. 2537)
  • สู่ลุ่มอิระวดี (2537)
  • บุเรงนอง กะยอดินนรธา กษัตริย์พม่าในโลกทัศน์ไทย (พ.ศ. 2538)
  • พระสุพรรณกัลยาจากตำนานสู่หน้าประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2542)
  • พม่าอ่านไทย: ว่าด้วยประวัติศาสตร์และศิลปะไทยในทรรศนะพม่า (พ.ศ. 2544)
  • เรือ: วัฒนธรรมชาวน้ำลุ่มน้ำเจ้าพระยา (2545)
  • ชาตินิยมในแบบเรียนไทย (2552)
  • จากศึกบางกุ้งถึงศึกอะแซหวุ่นกี้: เผยโฉมยุทธศาสตร์พม่ารบไทยยุคกรุงธนบุรี (2562)
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)