ประเสริฐ แรงกล้า

อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนใจประเด็นวิชาการด้านความเป็นชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การลี้ภัย การย้ายถิ่น และลักษณะข้ามชาติศาสนาและความมั่นคงของมนุษย์ มานุษยวิทยาเศรษฐกิจและการพัฒนา

1955 views | มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ, ชาติพันธุ์, ศาสนา


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2548-2556 อาจารย์ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2545-2546 ผู้ประสานงานสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
  • 2541-2544 ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์พิเศษ

  • 2557 อาจารย์พิเศษ หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2557 อาจารย์พิเศษหลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานด้านบริหารหรืองานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

  • กรรมการคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • กรรมการศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • รองบรรณาธิการวารสารธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการศึกษา

2555 Ph.D. (Anthropology) Australian Nation University (ANU)

2547 M.Sc. (Natural Resource Management) Asian Institute of Technology

2541 B.A. (Political Sciences) Chulalongkorn University

ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลprasertra@yahoo.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจความเป็นชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, การลี้ภัย การย้ายถิ่น และลักษณะข้ามชาติ, ศาสนาและความมั่นคงของมนุษย์, มานุษยวิทยาเศรษฐกิจและการพัฒนา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

หนังสือ

ประเสริฐ แรงกล้า. บรรณาธิการ. (2561). ชีวิตทางสังคมในการเคลื่อนย้าย. ปทุมธานี : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


งานวิจัย

ดาวัลย์ จันทรหัสดี, จักวาล จันตะเคียน และประเสริฐ แรงกล้า. (2549). การพิทักษ์และจัดการลุ่มน้ำคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

บารมี ชัยรัตน์, อนุชา แหสมุทร์, อรนุช ผลภิญโญ, ชนก เอี่ยมสะอาด, สุวรรณี หิรัฐมาลีเลิศ, พิสาร หมื่นไกร และคณะ. (2548). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาและสำรวจข้อพิพาทและความขัดแย้งปัญหาที่ดินในประเทศไทย ระยะที่ 1 : ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ประเสริฐ แรงกล้า. (2550). “พ่อค้าข้ามพรมแดน : ปฏิบัติการข้ามชาติของเครือข่ายการค้าวัวควาย”. ใน โครงการจัดประชุมสังเคราะห์ความรู้เรื่อง รัฐในบริบทสังคม เล่มที่ 2 : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ประเสริฐ แรงกล้า และสิริไพลิน สิงห์อินทร์. (2559). การกลับพม่าและการดำรงชีพในสภาวะหลังการพลัดถิ่น : กรณีศึกษาพ่อค้ารายย่อยในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า : รายงานฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

แมน ปุโรทกานนท์, ประเสริฐ แรงกล้า และสิรภพ สุวรรณเกสร. (2550). โครงการสร้างเสริมกลไกท้องถิ่นเพื่อจัดการผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) จังหวัดมุกดาหาร : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.


บทความ

ประเสริฐ แรงกล้า. (2556). “ความสัมพันธ์ข้ามชาติและการอพยพเคลื่อนย้าย : การดันชีวิตของคนพลัดถิ่นกะเหรี่ยง ณ ชายแดนไทย-พม่า”. ใน รัฐศาสตร์สาร, 34 (3), หน้า 159-187.

ประเสิรฐ แรงกล้า. (2559). “การเมืองเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน : ความหมายและนัยสำคัญในพม่า”. ใน วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12 (3), หน้า 83-105.

ประเสริฐ แรงกล้า. (2560). “การเคลื่อนย้ายการศึกษา : ระบบที่ซับซ้อน ความเป็นการเมือง และความเป็นไปได้”. ใน รัฐศาสตร์สาร, 38 (3), หน้า 130-158.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ, ชาติพันธุ์, ศาสนา
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)