ศศิธร ศิลป์วุฒยา

อาจารย์ประจำภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

1422 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ตำแหน่งหน้าที่ตามลำดับ

มิ.ย. 2551 – ปัจจุบัน อาจารย์ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร

พ.ค. 2556 – ปัจจุบัน รองคณบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการศึกษา

2546 – 2549 ปริญญาโท สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2541 – 2544 ปริญญาตรี ศศ.บ. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลsasithron@msn.com
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

ศศิธร ศิลป์วุฒยา, อุรินธา เฉลิมช่วง และนิศาชล ชัยมงคล. (2556). โครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานเกี่ยวกับผู้ใช้ชีวิตในพื้นที่สาธารณะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

ทัศนัย ขันตยาภรณ์, นัฐวุฒิ สิงห์กุล, นงลักษณ์ ดิษฐวงษ์, พสุภา ชินวรโสภาค, ศศิธร ศิลป์วุฒยา และกฤติกา พนาธนสาร. (2556). การคาดประมาณประชากรข้ามชาติเพื่อพัฒนาบริการอนามัยแม่และเด็กใน กทม.. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

งานเขียนบทความในหนังสือและวารสาร

ศศิธร ศิลป์วุฒยา. (2549). วาทกรรมการจัดการป่า : การต่อสู้ดินรนของคนพลัดถิ่น. ใน ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ (บรรณาธิการ), พื้นที่ทางสังคมร่วมสมัย จากมุมมองของคนรุ่นใหม่ : รวมบทความจากการสัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2549. กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศศิธร ศิลป์วุฒยา. (2557). บันทึกข้อมูลภาคสนามกับการศึกษาแรงงานข้ามชาติพันธุ์พม่า. ใน สาส์นมานุษยวิทยา : 40 ปี : มานุษยวิทยาวังท่าพระ. กรุงเทพฯ: ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ.

ศศิธร ศิลป์วุฒยา. (2560). อุปาทวาทศมาสโคลงดั้น : บทกวี ด้วยอารมณ์ และพิศวาสรัก. ใน ตรงใจ หุตางกูร (บรรณาธิการ), อุปาทวาทศมาสโคลงดั้น : วรรณกรรมเพชรน้ำเอกแห่งกรุงพระนครศรีอโยธยา. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

วิทยานิพนธ์

ศศิธร ศิลป์วุฒยา. (2544). บทบาทสตรีในชุมชน กรณีศึกษาหมู่ที่ 9 และหมู่ที่ 10 ตลาดน้ำคลองดำเนินสะดวก ตำบลดำเนินสะดวก อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. (สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

ศศิธร ศิลป์วุฒยา. (2550). วาทกรรมการจัดการป่ากับการเคลื่อนไหวทางสังคม...อัตลักษณ์และวัฒนธรรมอีสานในล้านนา กรณีศึกษา บ้านป่าสักงาม ตำบลดงมหาวัน กิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย. (วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)