นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ

นักวิชาการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) สนใจประเด็นวิชาการ Queer Theory, Gay Culture, Gender and Sexuality, Masculinity, Consumer Culture, Foucauldian Studies ผลงานสำคัญ อาทิ เกย์ลอกคราบ, เปิดประตูสีรุ้ง, หนังสือและเว็บไซต์ของเกย์-กระเทยในสังคมไทย

6265 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ตำแหน่งหน้าที่

  • 2561-ปัจจุบันหัวหน้าสำนักวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • 2556-ปัจจุบัน หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • 2551-2553ลาศึกษาต่อระดับปริญญาเอก หลักสูตรการบริหารสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2550-2551หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 2546-2550หัวหน้าสำนักวิจัยฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 2543-2546นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 2539-2541นักวิจัย มูลนิธิสถาบันวิจัยชุมชนเมือง สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ทุน ประกาศเกียรติคุณ และรางวัล

  • 2530 ประกาศเกียรติคุณผู้สอบได้ลำดับที่ 1 สายศิลป์ ปี 2530 ประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาชมรมบัณฑิตแนะนำ
  • 2542 ทุนวิจัยสำนักงานวัฒนธรรมแห่งชาติ ปี พ.ศ.2542
  • 2551 ทุนจัดสัมมนาสื่อของเกย์และกะเทยในสังคมไทย จากมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ สาขาเชียงใหม่ (ร่วมกับ TQRC, ANU, และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)
  • 2552 ทุนสนับสนุนโครงการ Rainbow Archive Project จาก British Library ประเทศอังกฤษ(ร่วมกับ รศ.ดร.ปีเตอร์ แจ็คสัน จาก ANU ประเทศออสเตรเลีย)
  • 2552 ทุนสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือสื่อของเกย์และกะเทยในสังคมไทย จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง
  • 2553 ทุนจากกรมควบคุมโรคกรุงเทพฯ ในโครงการอบรมเยาวชนชายรักชายสร้างสื่อป้องกันโรคเอดส์
  • 2554ทุนจาก Australia Research Council (ร่วมกับรศ.ดร.ปีเตอร์ แจ็คสันและ รศ.ธเนศ วงศ์ยานนาวา) ใน โครงการThai Critical Thought After the CPTPost-Marxist Critical Thought in Thailand: A Genealogy of IdeasCritical Thought in Thailand Since the End of the Communist Party of Thailand

การเสนอบทความในเวทีสัมมนาและการประชุม

  • 4 ตุลาคม 2551- ไบ แมน รุก ความเป็นชายกับปัญหาตัวตนเกย์ไทยในไซเบอร์สเปซในงานสัมมนาสื่อของเกย์และกะเทยในสังคมไทย โรงแรมเอเชีย กรุงเทพฯ
  • 16 เมษายน 2552 - Representing “Gay Sao” : The Blurred Boundary Between Effeminate Gay and Kratoey at VII Conference International Association for the Study of Sexuality, Culture and Society, Hanoi, Vietnam, April 15-18, 2009
  • 25 พฤศจิกายน 2552- ไม่มั่วแต่ทั่วถึง เซ็กแฟนตาซีของเกย์ไทยยุค 2000 งานประชุมเพศวิถีศึกษาครั้งที่ 2โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ
  • 27กรกฏาคม 2554- Mithuna Magazine: Masculinity and Homonormativity of the Thai Gay Middle Class การประชุมนานาชาติไทยศึกษา ครั้งที่ 17 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ
  • 15 กันยายน 2554 - การเปลี่ยนญาณวิทยาในการศึกษาเกย์ในสังคมไทย การประชุมเพศวิถีศึกษาครั้งที่ 3โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ
  • 21 ตุลาคม 2554 - BalckBerry Smart Phone and Sexuality among Queer University Students in BangkokThe 6th Asia Pacific Conference on Reproductive and Sexual Health and Right,Yogyakarta, Indonesia
  • 29 มีนาคม 2555 - พื้นที่วัฒนธรรมของคนข้ามเพศและคนรักเพศเดียวกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 10 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • 19 พฤศจิกายน 2556 - เฉดความเป็นชาย บนร่างของโคโยตี้บอย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • 31 สิงหาคม 2559 - เสนองานวิจัยเรื่องชุมชนกับความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใน อ.เมือง จ.สมุทรสาคร โรงแรมเซนทรัลเพลส สมุทรสาคร
  • 15 กรกฎาคม 2560 - Review of Studies of Gender and Sexual Diversity in Thailand in Thai and International Academic Publications in 13th International Conference on Thai Studies, Chiang Mai, Thailand

อาจารย์พิเศษ

  • มิถุนายน 2547 - ชีวิตชายขอบ กรณีเกย์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • 18 มกราคม 2550 - วัฒนธรรมป๊อป วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 29 ตุลาคม 2550 - ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยามานุษยวิทยาศึกษาโฮโมเซ็กช่วลโครงการปริญญาโท สังคมวิทยามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 7 กุมภาพันธ์ 2551 - วัฒนธรรมประชานิยม วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 7 สิงหาคม 2551 - วัฒนธรรมป๊อปวิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 7 กันยายน 2551 - เพศวิถีในคนรักเพศเดียวกัน สตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 5 สิงหาคม 2552 - วัฒนธรรมประชานิยม วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 21 สิงหาคม 2552 - สิทธิวัฒนธรรม คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 1 ธันวาคม 2552 - วัฒนธรรมป๊อป วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 8 กันยายน 2553 - อัตลักษณ์ทางเพศ คณะนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 15 กันยายน 2553 - อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ คณะนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 7 มีนาคม 2554 - การเก็บข้อมูลอาหารพื้นบ้าน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • 2 กันยายน 2554 - อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ คณะนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 11 กันยายน 2554 - เพศวิถีในสังคมพม่า คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 23 กันยายน 2554 - อัตลักษณ์ทางเพศ คณะนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 23 มกราคม 2555 - ความหลากหลายและลื่นไหลทางเพศ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 14 มีนาคม 2555 - เพศภาวะ สตรีนิยม และมานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 1 กันยายน 2555 - เพศภาวะและเพศวิถีในสังคมพม่า คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 6 กุมภาพันธ์ 2556 - เพศภาวะ สตรีนิยม และมานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 13 กรกฎาคม 2556 - การเคลื่อนไหวทางสังคม ชุมชน และการสานสร้างงานวัฒนธรรมของ LGBT ใน SEA และประเทศไทย วิทยาลัยสหวิทยากร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 1 ตุลาคม 2557 - ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางสังคมของ LGBT ตะวันตก ภาควิชาสตรี เพศภาวะและเพศวิถีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 8 ตุลาคม 2557 - ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางสังคมของ LGBT เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภาควิชาสตรี เพศภาวะและเพศวิถีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 15 ตุลาคม 2557 - ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางสังคมของ LGBT ไทย ภาควิชาสตรี เพศภาวะและเพศวิถีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 10 พฤศจิกายน 2557 - Concept of Popular Culture วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 3 ธันวาคม 2557 - ความหลากหลายและลื่นไหลทางเพศ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 17 สิงหาคม 2558 - รัฐ การควบคุมเรื่องเพศ ความลื่นไหลทางเพศ ความหลากหลายทางเพศและสิทธิทางเพศวิถีสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 10 กันยายน 2558 - ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางสังคมและการสานสร้างงานวัฒนธรรมของ LGBT ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศไทยวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 17 กันยายน 2558 - ประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวทางสังคมและการสานสร้างงานวัฒนธรรมของ LGBT ในโลกตะวันตก วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 23 กันยายน 2558 - การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณาแนวสตรีศึกษา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 21 ตุลาคม 2558 - ทฤษฎีเควียร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 28 มีนาคม 2559 - วัฒนธรรมประชานิยม วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 29 มีนาคม 2559 - Sexual Minorities and their living conditions Faculty of Social Administration, Thammasat University
  • 14 กันยายน 2559 - การวิจัยทางชาติพันธุ์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 29 พฤศจิกายน 2559 - Sexuality and Consumption คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 23 กุมภาพันธ์ 2560 - ประวัติศาสตร์ LGBT ไทยและตะวันตก วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 8 มีนาคม 2560 - มานุษยวิทยาการแสดง คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 20 กันยายน 2560 - ระเบียบวิธีวิจัยทางชาติพันธุ์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 4 ตุลาคม 2560 - แนวคิดเรื่องเพศในการวิจัยทางสังคมวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 11 ตุลาคม 2560 - ทฤษฎีเควียร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 25 ตุลาคม 2560 - แนวคิดของมิเชล ฟูโกต์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 1 พฤศจิกายน 2560 - ทฤษฎีเควียร์ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 17 พฤศจิกายน 2560 - มานุษยวิทยากับการศึกษาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 28 กุมภาพันธ์ 2561 - การศึกษาพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 27 มีนาคม 2561 - ทฤษฎีเควียร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 28 มีนาคม 2561 - วัฒนธรรมประชานิยม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 29 มีนาคม 2561 - ทฤษฎีเควียร์กับงานสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 30 มีนาคม 2561 - ทฤษฎีเควียร์คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 1 กันยายน 2561 - ทฤษฎีสังคม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 8 กันยายน 2561 - ทฤษฎีสังคม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 13 กันยายน 2561 - ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกลุ่มคนหลากหลายทางเพศ วิทยาลัยสหวิทยาการมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 19 กันยายน 2561- การวิจัยแนวชาติพันธุ์เชิงวิพากษ์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 25 กุมภาพันธ์ 2562 - เควียร์ในงานสื่อ คณะนิเศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 1 มีนาคม 2562 – ผลกระทบของสื่อหลอมรวมต่อการประกอบสร้างอัตลักษณ์ของประชากร เพศวิถีและเพศภาวะในสื่อหลอมรวม สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 8 มีนาคม 2562 - การเปิดพื้นที่ของ LGBTQN ในยุคสื่อหลอมรวม การนำเสนอภาพแทน LGBTQN ในสื่อประเภทต่างๆ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

อบรม

  • 28 มิถุนายน – 10 กรกรฎาคม 2548 Mekong River Team Workshop for Folk Life Festival at Smithsonian Institution, Washington D.C., United State Of America
  • 20 เมษายน -3 พฤษภาคม 2552Rainbow Archive Project at Australia National University and National Library of Australia, Canberra, Australia

สมาชิกองค์กร มูลนิธิ และสมาคม

  • ที่ปรึกษาวิชาการองค์กรบางกอกเรนโบว์
  • ผู้ประสานงานศูนย์ข้อมูลความหลากหลายทางเพศแห่งประเทศไทย
  • กรรมการหลักสูตร สตรี เพศภาวะและเพศวิถีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • อุปนายก ด้านวิชาการ สมาคมเพศวิถีศึกษา


ประวัติการศึกษา

2553 - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2539 - ปริญญาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2534 - ปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
อีเมลnarupon.d@sac.or.th, naruponqueer@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจQueer Theory, Gay Culture, Gender and Sexuality, Masculinity, Consumer Culture, Foucauldian Studies
ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)