อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล

อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนใจประเด็นวิชาการด้านชาติพันธุ์ การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม พิพิธภัณฑวิทยา มานุษยวิทยาพิพิธภัณฑ์ โบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ฯลฯ

1691 views | ชาติพันธุ์, พิพิธภัณฑ์, โบราณคดี, มรดกวัฒนธรรม


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2553 นักโบราณคดีร่วมการสำรวจและขุดค้นแหล่งโบราณคดีในเขตพื้นที่ดอยสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
  • 2552 เจ้าหน้าที่ประสานงานกลุ่ม (facilitator) ให้กับการอบรม “The Intangible Cultural Heritage and Museum Field School” ดาเนินงานโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และ UNESCO
  • 2552 นักโบราณคดีร่วมการขุดค้นแหล่งโบราณคดีในอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
  • 2552 นักโบราณคดีผู้ควบคุมการขุดค้น แหล่งโบราณคดีเวียงเจ็ดลิน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
  • 2551 เข้าร่วมขุดค้นแหล่งโบราณคดี Ranchos de Taos plaza เมือง Taos, รัฐ New Mexico ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • 2546-49 นักวิจัยในโครงการศึกษาชาติพันธุ์วรรณนาทางโบราณคดีของกลุ่มคนบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ทุนที่ได้รับ

  • 2553-54 Henry Luce Foundation, Luce Asian Archaeology Program (LAAP)
  • 2551 Henry Luce Foundation/American Council of Learned Society (ACLS), Grants to individuals in East and Southeast Asian archaeology and early history
  • 2546-49 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โครงการศึกษาชาติพันธุ์วรรณนาทางโบราณคดีของกลุ่มคนบนพื้นที่สูงในเขตอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ประวัติการศึกษา

PhD (History of Art and Archaeology) SOAS University of London

MA. (History of Art and Archaeology) SOAS University of London

2553 - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2543 - ศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลudomluck_h@yahoo.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจการจัดการมรดกทางวัฒนธรรม, กลุ่มชาติพันธุ์, ชาติพันธุ์วรรณนาทางโบราณคดี, มานุษยวิทยาพิพิธภัณฑ์, โบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความ

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2547). “การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มคนบนพื้นที่สูง : ภูมิปัญญาในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ”. ใน เอกสารประกอบการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 3 : เรื่อง ทบทวนภูมิปัญญา ท้าทายความรู้ 24-26 มีนาคม 2547. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2551). “การนำเสนอภาพตัวแทนผ่านพิพิธภัณฑ์และการโต้ตอบ/ปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อสังคม”. ใน รัศมี ชูทรงเดช. บรรณาธิการ. รวมบทคัดย่อโครงการประชุมวิชาการทางด้านโบราณคดี พิพิธภัณฑ์ศึกษา และการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม เรื่อง งานโบราณคดีใต้ร่มพระบารมีปกเกล้าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2553). “จินตนาการถึงอดีต จินตนาการของชาติ เมื่อในน้ำ (ไม่) มีปลา ในนา (ไม่) มีข้าว”. ใน เอกสารประกอบการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 9 ปาก-ท้อง ของกิน : จริยธรรมและการเมืองเรื่องอาหารการกิน 25-27 มีนาคม 2553. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2555). “โปสการ์ด : ภาพแทนความจริง”. ใน สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. บรรณาธิการ. 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530-พ.ศ. 2555. ปทุมธานี : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2555). “สุวรรณภูมิในพิพิธภัณฑ์ของอาเซียน : การเมืองในห้องจัดแสดง”. ใน สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. บรรณาธิการ. 25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. 2530-พ.ศ. 2555. ปทุมธานี : คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


งานวิจัยและวิทยานิพนธ์

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ และอุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2553). รายงานการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีโครงการสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีในพื้นที่ดอยสุเทพ. เชียงใหม่ : สำนักศิลปากรที่ 8 เชียงใหม่ กรมศิลปากร.

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2547). รายงานความก้าวหน้าโครงการวุฒิเมธีวิจัยและพัฒนาเรื่องโครงการศึกษาชาติพันธุ์วรรณนาทางโบราณคดีของกลุ่มคนบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยโบราณคดีบนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน.

อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล. (2553). พิพิธภัณฑ์ชาติและพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น : พื้นที่ของการให้ความหมายและการรับรู้ต่ออดีตของลำพูน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักชาติพันธุ์, พิพิธภัณฑ์, โบราณคดี, มรดกวัฒนธรรม
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)