โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) สนใจประเด็นวิชาการด้านมานุษยวิทยาการแพทย์ และการศึกษาชุมชน ผลงานของ ดร.โกมาตร ก่อให้เกิดการผนวกรวมมุมมองทางมานุษยวิทยาเข้ากับการพัฒนานโยบายและการดำเนินงานด้านสุขภาพ หนึ่งในผลงานวิชาการที่สำคัญ คือ เครื่องมือ 7 ชิ้น ที่ทำให้งานชุมชนง่าย ได้ผลและสนุก

4431 views | มานุษยวิทยาการแพทย์


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2563-ปัจจุบัน ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

พ.ศ. 2547-2562 ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

พ.ศ. 2547-2548 Visiting Professor, Graduate School of Asian and African Area Study ,Kyoto University. Japan.

พ.ศ. 2546-2547 ผู้จัดการแผนงานวิจัยสังคมและสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข

พ.ศ. 2541-2546 หัวหน้ากลุ่มนโยบายสังคมกับสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

พ.ศ. 2532-2534 ผู้ช่วยเลขาธิการข่ายงานวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior Research Network) ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

พ.ศ. 2530-2546 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (เดิมชื่อ กองแผนงานสาธารณสุข) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

พ.ศ. 2528-2530 แพทย์ประจำ โรงพยาบาลชุมชนชุมพวง อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา

พ.ศ. 2527-2528 แพทย์ฝึกหัด โรงพยาบาลมหาราช จังหวัดนครราชสีมา

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2541 - ปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยา (Ph.D. Social Anthropology) ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2534 - หลักสูตรอบรมระยะสั้น National Health t_administration ที่ JICA (Japan International Cooperation Agency) Hachioji International Training Center, Japan

พ.ศ. 2532 - หลักสูตรอบรมระยะสั้นหลักสูตร มานุษยวิทยาการแพทย์และการสาธารณสุขมูลฐาน (Short Course in Medical Anthropology and Primary Health Care) ที่ London School of Hygiene and Tropical Medicine, London, UK.

พ.ศ. 2526 - แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2524 - วิทยาศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาการแพทย์
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคนอื่นๆ. (2543). การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการพึ่งตนเองด้านสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน : พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง : รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2543). โครงการทบทวนสถานการณ์การใช้ยาในชุมชน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ..

ชาติชาย มุกสง และโกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). ธรรมาภิบาลและการเมืองแบบมีส่วนร่วมของผู้บริโภค : ศึกษากรณีกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคสี่แยกสวนป่า อ. บางขัน จ. นครศรีธรรมราช. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และประชาธิป กะทา. (2551). วิจัยเชิงคุณภาพ : การเรียนรู้จากงานประจำ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.).

งานเขียนบทความในหนังสือและวารสาร

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2529). คุณค่าและอัจฉริยภาพของภูมิปัญญาดั้งเดิมในระบบการแพทย์พื้นบ้าน. ปาจารยสาร, 13(4), 24-31.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2533). ระบบการแพทย์พื้นบ้านในชนบท. ใน ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์, เพ็ญจันทร์ ประดับมุข และจริยา สุทธิสุคนธ์ (บรรณาธิการ), พฤติกรรมสุขภาพ : รวมบทความจากการประชุมวิชาการพฤติกรรมสุขภาพครั้งที่ 1. นครปฐม: ข่ายงานวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์ และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2534). ภูมิปัญญาไทยที่ปรากฏในรูปพิธีกรรม. ใน บทอ่านสังคมและวัฒนธรรมไทย. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2539). ประชาสังคม : มิติใหม่ของการเมืองสาธารณะ. ใน ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพ : บทวิเคราะห์ทางวิชาการ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2541). การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล : ประเด็นที่ควรพิจารณา. ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ และฉันทนา บรรพศิริโชติ (บรรณาธิการ), ระบบความรู้พื้นบ้านปัจจุบัน : การวิจัยและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โครงการศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : โครงการศึกษาทางเลือกการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chuengsatiansup K. (1999). Sense, Symbol, and Soma: Illness Experience in the Soundscape of Everyday Life. Culture Medicine and Psychiatry, 23(3), 273-301.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2545). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 9 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ. ใน 30 ประเด็นสู่แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่9. นนทบุรี: โครงการตำรา สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2546). แนวคิดและยุทธศาสตร์การพัฒนาการแพทย์พื้นบ้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก. ว.การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2(1), 18-30.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2546). คนมองคนบนความหลากหลายของวัฒนธรรมสุขภาพบทสำรวจแนวคิดทางมานุษยวิทยาการแพทย์. ใน สังคมศาสตร์การแพทย์/มานุษยวิทยาการแพทย์คืออะไร. กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2546). จิตวิญญาณกับสุขภาพ. ใน พลินี เสริมสิริ, สุภกาญจน์ สว่างศรี และสมฤทัย เสือปาน (บรรณาธิการ), จากสุขภาพทางจิตวิญญาณสู่สุขภาพทางปัญญา. กรุงเทพฯ: สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, วรัญญา เพ็ชรคง และชาติชาย มุกสง. (2003). มุสลิม ราชการ และการแพทย์: พลวัตของอำนาจ ชาติพันธุ์ และพหุลักษณ์ทางการแพทย์ในชุมชนอิสลาม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

http://203.131.219.242/cdm/ref/collection/trf_or_t... . (วันที่ค้นข้อมูล : 14 มกราคม 2562).

Chuengsatiansup K. (2003). Spirituality and health: An initial proposal to incorporate spiritual health in health impact assessment. Social Science & Medicine, 61(7), 1408-1417.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2547) ผลกระทบโลกาภิวัตน์...สู่กระบวนทัศน์ทางเลือกด้านสุขภาพ. ใน สุขภาพแบบบูรณาการ ประสานศาสตร์ พุทธ เต๋า โยคะ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). เมื่อรำผีฟ้าและแพทย์สมัยใหม่ช่วยกันรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ. ใน Healthy. กรุงเทพฯ: Open Books.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). โศกนาฏกรรมอันดามัน : ความทุกข์ ความหมายกับการเยียวยา. ใน คลื่นความคิดจากจิตวิวัฒน์ : ข้อเขียนจากใจที่ไหวสะเทือนในเหตุการณ์วิบัติภัยสึนามิ. กรุงเทพ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

Chuengsatiansup K. (2005). Private obstetric practice in a public hospital: Mythical trust in obstetric care. Environmental Impact Assessment Review, 23(1), 3-15.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2549). ธรรมชาติ ศาสนา กับสาเหตุแห่งความทุกข์. และ โศกนาฏกรรมอันดามัน : ความทุกข์ ความหมาย กับการเยียวยา. ใน จักรวาลผลัดใบ : การเกิดใหม่ของจิตสำนึก. กรุงเทพฯ: มติชน.

Chuengsatiansup K. (2007). Community capacity building and health promotion in a globalized world. Health Promotion International, 21(1), 84-90.

ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ณัฐพงศ์ แหละหมัน และฉันทนา ผดุงเทศ. (2551). คุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยรอบสนามบินดอนเมืองและสนามบินสุวรรณภูมิในเขตกรุงเทพมหานคร. ว.วิชาการสาธารณสุข, 17(1), 40-47.

Chuengsatiansup K. (2008). Ethnography of epidemiologic transition: Avian flu, global health politics and agro-industrial capitalism in Thailand. Anthropology and Medicine, 15(1), 53-59.

Chuengsatiansup K. (2008). The ties that bind: Social relationship and cultural reasoning of self-medication amont the poor elderly with chronic illness in a congested community in Bangkok. (Online) Retrived January 14, 2019, from ResearchGate Website:

https://www.researchgate.net/publication/236324520_The_ties_that_bind_Social_relationship_and_cultural_reasoning_of_self-medication_amont_the_poor_elderly_with_chronic_illness_in_a_congested_community_in_Bangkok.

ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักมานุษยวิทยาการแพทย์
คำสำคัญมานุษยวิทยาการแพทย์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

อ้างอิงข้อมูลจาก - สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ

http://www.shi.or.th/content/217/